บทความ (STS-Kyoto ตอนที่ 1)


บทความ (STS-Kyoto ตอนที่ 1)

         ได้อ่านบทความของ ศ. ดร. ปิยะวัติ  บุญหลง  ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)แล้ว   เห็นว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง   จึงขออนุญาตท่านนำมาลงไว้   ดังนี้

 

บทความ (STS-Kyoto ตอนที่ 1)


 

วิจารณ์  พานิช
                                                                                21 ก.ย.48

 

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 4221เขียนเมื่อ 22 กันยายน 2005 08:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 13:59 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

" ในระหว่าง 10 ปีข้างหน้านี้ ....   สิ่งที่เขาคิดว่าจะก้าวหน้าที่สุด
ก็คือ “software” ซึ่งหมายรวมๆถึงชุดคำสั่งระบบอัตโนมัติต่างๆ
ที่จะคิดและทำแทนคน"

ผมเห็นด้วยกับเรื่องนี้ครับ  เชื่อว่าเรื่องปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ที่จะมาเสริมกับปัญญามนุษย์  เช่น Search engine จะเป็น
เรื่องใหญ่ เรื่องสำคัญมาก

อีกเรื่องที่คล้ายกัน คือเรื่อง ปัญญารวมหมู่ (Collective Intelligence) ที่เกิดจาก
การร่วมมือกันระหว่างคน ผ่านทาง Social Software ทั้งหลาย เช่น Blog, Wiki, etc.
ซึ่งถึงจุดหนึ่ง ปัญหาสำคัญทั้งหลาย(Intelligence demand) จะได้รับการ
match ด้วยปัญญารวมหมู่ของมนุษย์ชาติ (Intelligence supply)
ถึงจุดนั้น การร่วมมือกันแก้ปัญหาต่างๆ ให้ลุล่วง ก็จะเป็นไปได้ง่ายขึ้นครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท