หลักธรรมาภิบาล


ธรรมาภิบาล

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หมายถึง การปฏิบัติราชการที่มีความมุ่งหมายให้บรรลุเป้าหมายตามที่มาตรา 6 บัญญัติไว้ คือ

1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน

 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

 3.มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

 4.ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น

 5.มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์

 6.ประชาชนได้รับความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ

 7.มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ

 

จากพระราชกฤษฏีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี นำมาสรุปเป็นหลักธรรมาภิบาล ได้ 10 หลักการ ประกอบด้วย

1.  หลักการมีประสิทธิผล

2.  หลักการมีประสิทธิภาพ   

3.  หลักการตอบสนอง

4.   หลักภาระความรับผิดชอบ

5.  หลักความโปร่งใส

6.  หลักการมีส่วนร่วม

7.  หลักการกระจายอำนาจ    

8.  หลักนิติธรรม    

9.   หลักความเสมอภาค     

10. หลักการมุ่งเน้นฉันทามติ           

 

                                                 เรียบเรียง โดยนายเกรียงศักดิ์ ปรีชา               

คำสำคัญ (Tags): #ธรรมาภิบาล
หมายเลขบันทึก: 413857เขียนเมื่อ 15 ธันวาคม 2010 12:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 พฤษภาคม 2012 14:09 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท