หน่วยที่ 4


การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานสื่อสารมวลชน

หน่วยที่ 4 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานสื่อสารมวลชน

ความรู้ทั่วไป

ความหมาย
เป็นกระบวนการส่งข่าวสาร ความรู้สึกนึกคิดไปยังคนจำนวนมาก

ความเป็นมา
ก่อนใช้ตัวอักษร →ยุคการใช้ตัวอักษร→ยุคการพิมพ์→ยุคสื่อไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

องค์ประกอบ
ประกอบด้วย

  1. ผู้ส่งสาร 
  2. สาร 
  3. ตัวเข้ารหัสสาร
  4. ช่องทางการสื่อสาร
  5. ตัวแปลรหัสสาร
  6. ผู้รับ และปฏิกิริยาของผู้รับสาร

ประเภท

  1. สิ่งพิมพ์
  2. ภาพยนตร์
  3. วิทยุกระจายเสียง
  4. วิทยุโทรทัศน์
  5. สื่อสารโทรคมนาคม
  6. สื่อวัสดุบันทึก

บทบาทหน้าที่
การเสนอข่าว การเสนอความคิดเห็น  ให้ความบันเทิง ให้การศึกษา การประชาสัมพันธ์และโฆษณา

ลักษณะเด่น

ลักษณะของผู้ส่งสาร
มีลักษณะเป็นองค์การคือผู้ส่งสารจะปฏิบัติงานในรูปแบบขององค์การที่สลับซับซ้อนที่ดำเนินการ โดยอาศัยการแบ่งการทำงานที่กว้างขวาง  และมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการค่อนข้างสูง

ลักษณะของสาร

  1. สาธารณะ (public)
  2. รวดเร็ว (rapid)
  3. ไม่ยั่งยืน ( transient)

ลักษณะของสื่อ

  1. สื่อที่สามารถควบคุมได้
  2. สื่อมวลชน
  • เข้าถึงผู้รับสารจำนวนมาก
  • รวดเร็วในการสื่อสาร
  • บรรจุเนื้อหาหลากหลาย
  • นำสารไปสู่ประสาทสัมผัสของผู้รับสารได้จำกัด
  • ได้รับการสื่อสารกลับที่จำกัด

ลักษณะของผู้รับสาร

  1. จำนวนมาก
  2. มีความแตกต่างกัน
  3. ไม่เป็นที่รู้จัก

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์

  1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับการสื่อสารมวลชน
  2. คอมพิวเตอร์กับงานด้านการพิมพ์
  3. คอมพิวเตอร์กับงานวิทยุกระจายเสียง
  4. คอมพิวเตอร์กับงานวิทยุโทรทัศน์
  5. คอมพิวเตอร์กับงานภาพยนตร์
  6. คอมพิวเตอร์กับงาน Presentation
 
 
หมายเลขบันทึก: 403008เขียนเมื่อ 16 ตุลาคม 2010 21:46 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 พฤษภาคม 2012 01:47 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท