รพ.หนองม่วง
รพ.หนองม่วง รพ.หนองม่วง รพ.หนองม่วง รพ.หนองม่วง

Drug interaction


Drug interactions

Drug interaction  หมายถึง  ปฏิกิริยาระหว่างยาตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปที่ทำให้ฤทธิ์ยาเปลี่ยนไปจากเดิม (ฤทธิ์ของยามากขึ้นหรือลดลง)  ส่งผลให้ประสิทธิภาพของยาลดลงหรือมากขึ้นจนเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยได้  ซึ่งสามารถแบ่งระดับได้เป็น 5 ระดับ ดังนี้

ระดับ 1  ไม่ควรใช้ยา 2 ชนิดที่ระบุไว้พร้อมกัน เพราะเป็นยาที่มีข้อมูลทางคลินิคว่า อาจเกิด drug interactionรุนแรง และมีอันตรายต่อชีวิตได้ (Fatal drug interaction)

ระดับ 2   ไม่ควรใช้ยา 2 ชนิดที่ระบุไว้พร้อมกัน ยกเว้นมีความจำเป็นอย่างมาก เพราะความเสี่ยงในการเกิด  side effect จาก drug interaction ไม่คุ้มกับประโยชน์ที่ได้รับ

ระดับ 3   อาจใช้ยา 2 ชนิดที่ระบุไว้พร้อมกันได้ แต่มีโอกาสเกิดผลข้างเคียงที่สำคัญจาก  drug interaction ได้ซึ่งต้องมีการติดตามค่า LAB ที่จำเป็นเป็นระยะๆ และอาจต้องปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับผู้ป่วย

ระดับ 4 ใช้ยา 2 ชนิดที่ระบุร่วมกันได้ แต่มีโอกาสเกิด side effect ได้ ต้องมีการติดตามผล LAB เป็นระยะๆ

ระดับ 5   ไม่มีรายงานการเกิด drug interaction ที่ชัดเจน แต่ควรเฝ้าระวังการเกิด drug interaction บ้าง

สาเหตุการเกิด Drug Interaction

  1. เกิดจากการใช้ยาอย่างน้อย 2 ชนิดที่ออกฤทธิ์คล้ายกันจึงเสริมฤทธิ์กัน  ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย เช่น   ยา A มีผลช่วยกระตุ้นหัวใจเมื่อได้รับยา B ซึ่งมีผลเช่นเดียวกัน จะส่งผลให้หัวใจทำงานหนักและเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย
  2. เกิดจากยาบางชนิดที่ผ่านขบวนการ metabolism ที่ตับโดยเอนไซม์ cytochrom P450 เมื่อได้รับยา B ซึ่งมีผลต่อ cytochrom P450 ทำให้มีผลยับยั้งหรือกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์  ทำให้ metabolism ของยา A เปลี่ยนแปลงไปส่งผลต่อระดับยา A ในเลือด

Drug  interaction  Alert  level  1

 

1.Amphetamine  and  central  stimulants

-          Atractil  , Ritalin

 

2.Phosphodiesterase type 5 inhibitors

-          Viagra , Cilalis, Levitra

 

 

3.Dinoprodtone  (Prostin E2)

 4.Ergot and related compounds

-Hydergine FAS, Brinerdin , Cafergot , BellergalSermion

Alpha-receptor  sympathominatics

- Epinephrine , Norepinephrine , Phenylephrine , Psuedoephredine

 Antianginal nitrates

-  Glycery trinitrate , Isosorbide dinitrate , Isosorbide

Mononitrate

Shot-acting hypertensives (Sodium nitroprusside)

Oxytocin  (Syntocinon)

Zolmitriptan 

(Zomig)

 

 

Drug  interaction  Alert level  2

1. Cadiac glycoside

-  Digoxin  (Lanoxin)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. Antiarryythmic agent

- Amidarone ( Cordarone )

 

 

 

 

 

Calcium  injection

Calcium folinate , Calcium gluconate

Neuromuscular blockers injection

Tracium , Nimbex , Pavulon , Esmeron , Succinyl , Norcuron Vecuron

Macrolides antibiotics

Clarithromycin ( Klacid , Crixan )

Protease inhibitors

Saquinavir

Calcium channel blockers

Verapamil

Antimalaria agent

Quinidine

Thiazide diuretic

 HCTZ , (Dichlortide),,Indapamide (coversyl natrilix )          

Phenothiazine  agent

Largactil , Deca , Phaenazine , Porazine , Stemetil , Phenergan , Mellerl , Melleril , Ridazine , Thiosia , Psyrazine , Stelazinr

Protaese inhibitors (Indinavir , Crixivan)

Loop diuretics (Furosamide , Torasemide)

Prokinetic agent ( Cisapride )

3.  Anticoagulant  :  Vitamin  K  antagonists

 

-  Warfain  (Befarin , Coumadin , Orfarin)

Anti-hypothyroid drug

Levothyroid ( Eltroxin,Euthyrox)

Antituberculosis agent

Rifampicin( Rifinah ,Rimstar,Ripin,Rimactazid )

Anti-hyperthyroid drug

Tapazole ,PTU

Sulfinpyrazone

Sulfin

Barbiturates (Phenobarbital)

HMG-CoA inhibitors

Simvastatin(Zimmex,Zocor)

Atorvastatin (Lipitor)

Rosuvastatin(Crestor)

(Mevalotin)

Histamine H2  antagonist (Cimetidine)

Synthatic androgen  (Danazol ; Ladogal , Vaborn)

Fibrates

- Bezafibrate , Fenofibrate , Gemfibrozil

Amiodarone

- Cordarone

Macrolides antibiotics

- Azithromycin

- Erythromycin

- Clarithromycin

- Roxithromycin

Imidazole  derived antifungals

-  Fiuconazole , Itraconazole , Ketoconazole

Nitroimidazoles

-  Metronidazole , Tinidazole

Sulfonamide anti-infectives (Co-trimoxazole)

Vitamin  K  and anlogues

-  glakay , Konakion MM

NSAIDs  (non-selective COX II- inhibitors)

Ginkgobiloba (Tanakan)

Review Antibacterial Drug Interactions

ยาต้านจุลชีพ ในกลุ่มยาต้านเชื้อแบคทีเรีย  3 กลุ่ม คือ ยากลุ่ม beta-lactams, fluoroquinolone และ macrolides นำมาใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อหลายชนิดอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ยาทั้ง  3 กลุ่ม เกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับยาอื่น ๆ ได้หลายชนิด แต่ยากลุ่ม beta-lactams จะพบได้น้อยที่สุดและไม่ค่อยมีนัยสำคัญทางคลินิก ยกเว้น คู่ยาบางชนิดในขณะที่ยากลุ่ม fluoroquinolones มักจะเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาทั้งในแง่เภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ แต่ปฏิกิริยาที่มีนัยสำคัญทางคลินิกจะพบเป็นปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกี่ยวข้องกับเภสัชจลนศาสตร์ เช่นการเสริมฤทธิ์กับยาอื่น ๆ ทำให้เกิดภาวะ QTc interval ยาวนานขึ้น และภาวะน้ำตาลในเลือดสูง/ต่ำ สำหรับยากลุ่ม Macrolides สามารถเกิดปฏิริยาระหว่างยากับยาอื่น ๆ ได้โดยเฉพาะปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกี่ยวข้องกับเภสัชจลนศาสตร์ เนื่องจากยากลุ่มนี้มีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์หลายชนิดในตับ รวมเอมไซม์ cytochrome P450 (CYP) system

คำสำคัญ (Tags): #drug interaction
หมายเลขบันทึก: 382286เขียนเมื่อ 6 สิงหาคม 2010 14:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 08:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท