บทสวดคาถา อุปปาตะสันติมหาสันติงหลวง


อุปปาตะสันติ

 ก า ร ส ว ด อุ ป ป า ต ะ สั น ติ ม ห า สั น ติ ง ห ล ว ง
“อุปปาตะสันติ” ทางเมืองเหนือเรียกว่า “มหาสันติงหลวง”
อุปปาตะสันติ แยกเป็น ๒ คำ คือ อุปปาตะ คำ ๑
และ สันติ คำ ๑ อุปปาตะ แปลว่า เคราะห์กรรม, เหตุร้าย, อันตราย
และแปลว่าสิ่งกระทบกระเทือน
อุปปาตะสันติ แปลว่า บทสวดเพื่อสงบเคราะห์กรรม
สวดเพื่อสงบเหตุร้าย และสวดเพื่อสงบสิ่งที่กระทบกระเทือน

• ป ร ะ วั ติ คั ม ภี ร์ อุ ป ป า ต ะ สั น ติ
คัมภีร์อุปปาตะสันติ เป็นวรรณกรรมภาษาบาลีของล้านนาไทย
จัดเข้าในหนังสือประเภท “เชียงใหม่คันถะ”
คือ คัมภีร์เชียงใหม่มีอายุประมาณ ๖๐๐ ปีเศษแล้ว
แต่งโดย พระมหามังคละสีลวังสะ
พระเถระนักปราชญ์ของชาวเชียงใหม่รูปหนึ่ง
ในสมัยของ พระเจ้าสิริธรรมจักกวัตติลกราชาธิราช (พระเจ้าติโลกราช)
รัชกาลที่ ๑๑ แห่งราชวงศ์มังรายระหว่าง พ.ศ.๑๙๘๕-๒๐๓๐
เป็นคาถาล้วนจำนวน ๒๗๑ คาถา
คัมภีร์นี้เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย ในหมู่ชนชาวล้านนามาแต่โบราณกาล
ทั้งพระสงฆ์ สามเณร และชาวบ้าน
พากันสวดและฟังอุปปาตะสันติ
เพื่อกลับความร้ายให้กลายเป็นความดี
มีคำเล่าว่า สมัยที่ท่านพระมหามังคละสีลวังสะแต่งอุปปาตะสันตินั้น
ที่เชียงใหม่มีโจรผู้ร้ายและคนอันธพาลชุกชุมผิดปกติ
มีเหตุร้ายและสิ่งกระทบกระเทือนอยู่เสมอ
พระมหาเถระสีละวังสะจึงให้พระสงฆ์สามเณรและประชาชนพากันสวด
และฟังอุปปาตะสันติ เพื่อสงบเหตุร้ายทั้งมวลที่เกิดขึ้นในบ้านเมือง

ต่อมาชาวพม่ามีความเลื่อมใส
นำคัมภีร์นี้เข้าไปในประเทศพม่า
ชาวพม่าทั้งพระสงฆ์และประชาชน
นับถือว่าพระคัมภีร์อุปปาตะสันตินี้มีความศักดิ์สิทธ์มาก
พากันนิยมท่อง นิยมสวด และนิยมฟังกันอย่างกว้างขวาง
แพร่หลายไปทั่วประเทศพม่าในสมัย ๕๐๐ ปีที่ล่วงแล้ว
ในงานพิธีสืบชะตา งานขึ้นบ้านใหม่เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม
กล่าวได้ว่าคัมภีร์อุปปาตะสันติเป็นคัมภีร์ของไทย
แต่ต้นฉบับได้จากเมืองไทยไปอยู่เมืองพม่าเสียนาน
จนแทบกล่าวได้ว่า
คนไทยในสมัยหลังๆ นี้ไม่มีใครรู้จัก
ไม่เคยได้ยินแม้แต่ชื่อของคัมภีร์นี้
แต่บัดนี้เป็นที่โสมนัสยินดียิ่ง
ที่ เจ้าคุณธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปัญโญ) ป.ธ. ๙
วัดมหาโพธาราม ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์

ท่านได้ชำระคัมภีร์นี้เป็นภาษาบาลีอักษรไทย
พื่อความสะดวกแก่ผู้อ่านที่ไม่สันทัดบาลี
โดยได้ต้นฉบับภาษาบาลีอักษรพม่าจากท่าน
พระอาจารย์ภัททันตะ ธัมมานันทมหาเถระ
อัครมหาบัณฑิตแห่งวัดท่ามะโอ จังหวัดลำปาง
นับว่าเป็นการนำคัมภีร์ของล้านนาไทยโบราณ
กลับคืนมาสู่เมืองไทยให้ชาวไทยในยุคปัจจุบันได้รู้จัก
ได้ศึกษา ได้สวด ได้ฟังให้เกิดประโยชน์ทางสันติ
เพื่อความสงบระงับจากภัยพิบัติทั้งปวง
และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชาวล้านนา ชาวไทย
ตลอดจนชาวโลกทั้งมวล

หลักฐานคัมภีร์ “อุปปาตะสันติ” ฉบับหนึ่งในล้านนาไทย
ซึ่งเขียนไว้ในสมุดข่อย หมึกจีน อาบน้ำชาด
ที่เรียกว่าประวัติย่อ ดังนี้...
ในปีจุลศักราช ๑๒๗๙ ปีดับไก๊ เดือน ๘
เหนือ เพ็ญ วันศุกร์ ปีกุน สัปตศก พ.ศ.๒๔๗๘
เจ้าภาพเขียนต้นฉบับนี้ คือ นายน้อยปิง มารวิชัย
บ้านประตูท่าแพเป็นประธานพร้อมทั้งภริยาลูกและญาติทุกคน
ได้จ้างคนเขียนธรรม ๕ ผูก คือมลชัย ๑ ผูก..อินทนิล ๑ ผูก..
สังยมาปริตตคลสูตร ๑ มังผูก..นัครฐาน ๑ ผูก...
อุปปาตสันติ ๑ ผูก รวม ๕ ผูก พร้อมทั้งสร้างบ่อน้ำถวาย
พระครูบาศรีวิชัย (ปฏิคาหก) ทานวัดศรีโสดา และถนนขึ้นดอยสุเทพ
ขอกุศลบุญเยี่ยงนี้ จงเป็นปัจจัยค้ำชูตัวแห่งผู้ข้า ฯ (นายน้อยปิง)
ทั้งหลายทุกคนตราบถึงนิพพานในอนาคตกาลโน้นเทอญ ฯ

• เนื้อความในอุปปาตะสันติมหาสันติงหลวง
เนื้อความในอุปปาตะสันติคาถานั้น สรุปได้ว่า....
• เป็นธรรมที่กระทำความสงบอันยิ่งใหญ่
• เป็นธรรมเครื่องสงบเหตุร้ายทั้งปวง
• เป็นธรรมเครื่องป้องกันอมนุษย์ และยักษ์
• เป็นธรรมเครื่องพ้นจากความตายก่อนกำหนดเวลา
• เป็นธรรมเครื่องย่ำยีกำลังของข้าศึก
• เป็นธรรมเครื่องจำเริญชัยชนะแด่พระราชา
• เป็นธรรมเครื่องนำสิ่งที่ไม่น่าปรารถนาทั้งปวงออกไป
อุปปาตะสันติคาถา เป็นบทสวดอย่างพิสดาร
ท่านจึงกล่าวพระนามของพระพุทธเจ้า พระธรรม
และพระอริยสงฆ์ไว้อย่างครบถ้วน
ทั้งที่มีมาในอดีต ในปัจจุบัน และจักมีมาในอนาคต
รวมตลอดไปจนถึงท่านที่ทรงคุณ ทรงอำนาจ ทรงฤทธิ์
ในทางที่ดีอื่นๆ เช่น เทวดา อินทร์ พรหม
ยักษ์ นาค คนธรรพ์ ครุฑ อสูรเป็นต้น
เพื่อขอความเป็นมงคล ความสงบ ความสวัสดี
ความไม่มีโรค ชัยชนะ และอายุ
รวมทั้งขอให้ท่านคุ้มครองให้พ้นจากเหตุเภทภัยนานัปการ
อันจะบังเกิดขึ้นในกาลทุกเมื่อ

• บุคคลและสภาวะที่อ้างถึงในคัมภีร์อุปปาตะสันติมี ๑๓ ประเภทคือ
• พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีตถึงปัจจุบัน (เน้นที่ ๒๘ พระองค์)
• พระปัจเจกพุทธเจ้า
• พระพุทธเจ้าในอนาคต ๑ พระองค์ คือ พระเมตไตรย
• โลกุตตรธรรม ๙ และพระปริยัติธรรม ๑
• พระสังฆรัตนะ
• พระเถระชั้นผู้ใหญ่ ๑๐๘ รูป
• พระเถรีชั้นผู้ใหญ่ ๑๓ รูป
• พยานาค
• เปรตบางพวก
• อสูร
• เทวดา
• พรหม
• บุคคลประเภทรวม เช่น เทวดา ยักษ์ ปีศาจ
คือผีที่ทำสิ่งใดๆ อย่างโลดโผน
และวิชชาธรหรือพิทยาธร (สันสกฤตเรียกวิทยาธร)
ถ้าเป็นภาษาอังกฤษเรียกพวก เซอเร่อคือพ่อมด แม่มด หรือผู้วิเศษ
พวกวิชชาธร เป็นพวกรอบรู้เรื่องเครื่องรางและเสน่ห์ต่างๆ
สามารถไปทางอากาศได้

• เรื่องราวเย็นอกเย็นใจที่สังคมมุ่งหวังและเสาะแสวงหา
ที่กล่าวถึงในคัมภีร์อุปปาตะสันติที่สำคัญ ๓ ประการ
๑. สันติหรือมหาสันติ
ความสงบ ความราบรื่น ความเยือกเย็น ความไม่มีคลื่น
๒. โสตถิ
ความสวัสดี ความปลอดภัย ความเป็นอยู่เรียบร้อย หรือตู้นิรภัย
๓. อาโรคยะ
ความไม่มีสิ่งเป็นเชื้อโรค
ความไม่มีโรคหรือความมีสุขภาพสมบูรณ์
คัมภีร์อุปปาตะสันติ มีข้อความขอความช่วยเหลือ
ขอให้พระรัตนตรัยและบุคคล
พร้อมทั้งสิ่งทรงอิทธิพลในจักรวาลรวม ๑๓ ประเภท
ดังกล่าวมาแล้วช่วยสร้างสันติ หรือมหาสันติ


ช่วยสร้างโสตถิและอาโรคยะ
ช่วยปรุงแต่งสันติและอาโรคยะ
ขอให้ช่วยรวมสันติ รวมโสตถิและรวมอาโรคยะ
และขอให้ช่วยเป็นตู้นิรภัยคุ้มครอง
และกำจัดเหตุร้ายอันตรายหรือสิ่งกระทบกระเทือนต่างๆ
อย่าให้เกิดมีในตน ในครอบครัว ในหมู่คณะ
หรือในวงงานของตน และในวงงานของคนอื่นทั่วไป
• อานิสงส์การสวดและการฟังอุปปาตะสันติ
มีคุณประโยชน์ตามที่กล่าวไว้ ในท้ายคัมภีร์ มีดังนี้
ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ
ย่อมชนะเหตุร้ายทั้งปวงได้ และมีวุฒิภาวะคือ
ความเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ

• ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติย่อมได้ประโยชน์ที่ตนต้องการ
คือ ผู้ประสงค์ความปลอดภัยย่อมได้ความปลอดภัย
คนอยากสบายย่อมได้ความสุข
คนอยากมีอายุยืน ย่อมได้อายุยืน
คนอยากมีลูก ย่อมได้ลูกสมประสงค์
ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ
ย่อมไม่มีโรคลมเป็นต้นมาเบียดเบียน
ไม่มีอกาละมรณะคือตายก่อนอายุขัย
ทุนนิมิตรคือลางร้ายต่างๆมลายหายไป
ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ
เมื่อเข้าสนามรบย่อมชนะข้าศึก
ทั้งปวงและแคล้วคลาดจากอาวุธทั้งปวง
• เดชของอุปปาตะสันติ
การสวดอุปปาตะสันติเป็นประจำ ย่อมมีเดชดังนี้
• อุปปาตะ คือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน
อันเกิดจากแผ่นดินไหวเป็นต้น ย่อมพินาศไป
(ปะถะพะยาปาทิสัญชาตา)
• อุปปาตะ คือ คือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน
อันเกิดจากลูกไฟที่ตกจากอากาศหรือสะเก็ดดาว ย่อมพินาศไป
(อุปปาตะจันตะลิกขะชา)

• อุปปาตะ คือ คือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน
อันเกิดจากการเกิดจันทรุปราคาหรือสุริยุปราคา เป็นต้น ย่อมพินาศไป
(อินทาทิชะนิตุปปาตา)

อุ ป ป า ต ะ สั น ติ
บทสวดสงบเหตุร้าย
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ขอความนอบน้อมของข้าพเจ้าจงมีแด่พระผู้มีพระภาค
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น…………..

(ก) สุทุททะโส อะยัง ธัมโม โลกัตถัง ชินะเทสิโต
มะหาสันติกะโร โลเก สัพพะสัมปัตติทายะโก.

(ข) สัพพุปปาตูปะสะมะโณ ภูตะยักขะนิวาระโณ
อะกาละมัจจุสะมะโณ โสกะโรคะวินาสะโน.

(ค) ปะระจักกะปะมัททะโน รัญโญ วิชะยะวัฑฒะโน
สัพพานิฏฐะหะโร สันโต ธัมมัง วักขามิ ภูตะโต.

(ฆ) วัตถุตตะยัสสะ โย ยัตถะ สังวัณเณติ คุณุตตะเม
ตัสสะ ตัตถะ สุขาโรคฺยะ- โสตถิโย โหนติ สัพพะทา.


๑. ตัณหังกะโร มะหาวีโร สัพพะโลกานุกัมปะโก
วันตะสังสาระคะมะโน สัพพะกามะทะโท สะทา.

๒. สัพพาภิภู สัพพะวิทู สัพพะเทวะคะรุตตะโม
สัพพาสะวะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๓. วะระลักขะณะสัมปันโน เมธังกะโร มะหามุนิ
ชุตินธะโร มะหาสิรี สุวัณณะคิริสันนิโภ.

๔. ทิพพะรูโป มะหากาโย มะหานาโถ มะหัพพะโล
มะหาการุณิโก สัตถา มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๕. มะหาโมหะตะมัง หันตฺวา โย นาโถ สะระณังกะโร
เทวาเทวะมะนุสสานัง โลกานัญจะ หิตังกะโร.

๖. พฺยามัปปะภาภิรุจิโต นิโคฺรธะปะริมัณฑะโล
นิโคฺรธะปักกะพิมโพฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๗. อะสีติระตะนุพเพโธ ทีปังกะโร มะหามุนิ
ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ ฐาเน ทฺวาทะสะ โยชะเน.

๘. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเก วินายะโก
โลกาโลกะกะโร สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๙. อัฏฐาสีติหัตถุพเพโธ โกณฑัญโญ นามะ นายะโก
สัพพะธัมเมหิ อะสะโม สัพพะปาระมิตาคะโม.

๑๐. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน
โมเจตุ โส สัพพะภะยา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๑. อัฏฐาสีติระตะนานิ อัจจุคคะโต ชุตินธะโร
มังคะโล นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก.

๑๒. ฉัพพัณณะรังสิโย ทะสะ- สะหัสสะโลกะธาตุโย
ผะรันตา ตัสสะ ฉาเทนติ เอสะ โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๓. นะวุติระตะนุพเพโธ สุมะโน นามะ นายะโก
กัญจะนาจะละสังกาโส นะวุติสะหัสสายุโก.

๑๔. อุเปโต พุทธะคุเณหิ สัพพะสัตตะหิเตสะโก
กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรคฺยัญจะ สุขัง สะทา.

๑๕. อะสีติระตะนุพเพโธ สัฏฐีสะหัสสะอายุโก
เรวะโต นามะ สัมพุทโธ สัพพะโลกุตตะโร มุนิ.

๑๖. ตัสสะ สะรีเร นิพพัตตา ปะภามาลา อะนุตตะรา
ผะรันตา โยชะเน นิจจัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๗. โสภิโต นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก
สังสาระสาคะเร สัตเต พะหู โมเจติ ทุกขะโต.

๑๘. อัฏฐะปัญญาสะระตะนัง อัจจุคคะโต มะหามุนิ
โอภาเสติ ทิสา สัพพา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๙. อะโนมะทัสสี สัมพุทโธ เตชัสสี ทุระติกกะโม
อัฏฐะปัณณาสะระตะโน โอภาเสนโต สะเทวะเก.

๒๐. นิพพานะปาปะโก โลเก วัสสัสสะตะสะหัสสายุ
กะโรตุ โน มะหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา.

๒๑. ปะทุโม นามะ สัมพุทโธ โลกะเชฏโฐ นะราสะโภ
อัฏฐะปัญญาสะระตะโน อาทิจโจวะ วิโรจะติ.

๒๒. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน
โสปิ พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๒๓. อัฏฐาสีติระตะนุพเพโธ นาระโท สัพพะกามะโท
นิรันตะรัง ทิวารัตติง โยชะนัง ผะระเต ปะภา.

๒๔. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเก วินายะโก
โมเจติ ทุกขะโต สัตเต โสปิ โสตถิง กะโรตุ โน.

๒๕. อัฏฐะปัณณาสะระตะโน ปะทุมุตตะโร มะหามุนิ
ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ ทฺวาทะสะ โยชะเน.

๒๖. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเกมะตันทะโท
โมเจติ พันธะนา สัตเต โสปิ ปาเลตุ โน สะทา.

๒๗. อัฏฐาสีติระตะนานิ อัจจุคคะโต มะหามุนิ
สุเมโธ นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก.

๒๘. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา
ปาเลตุ โน สะทา พุทโธ ภะเยหิ วิวิเธหิ จะ.

๒๙. ปัญญาสะระตะนุพเพโธ สุชาโต นามะ นายะโก
เหมะวัณโณ มะหาวีโร มะหาตะมะวิโนทะโน.

๓๐. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน
โสปิ พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๓๑. อะสีติระตะนุพเพโธ ปิยะทัสสี มะหามุนิ
นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลกัคคะนายะโก.

๓๒. โสปิ สัพพะคุณูเปโต สัพพะโลกะสุขัปปะโท
สัพพะโทสัง วินาเสนโต สัพพัง โสตถิง กะโรตุ โน.

๓๓. อะสีติระตะนุพเพโธ อัตถะทัสสี นะราสะโภ
วัสสัสสะตะสะหัสสานิ โลเก อัฏฐาสิ นายะโก.

๓๔. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา
นิรันตะรัง ทิวารัตติง นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน.

๓๕. ธัมมะทัสสี จะ สัมพุทโธ อะสีติหัตถะมุคคะโต
อะติโรจะติ เตเชนะ สะเทวาสุระมานุเส.

๓๖. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเก มะหายะโส
สัพพะสัตเต ปะโมเจติ ภะยา รักขะตุ โน สะทา.

๓๗. สิทธัตโถ นามะ สัมพุทโธ สัฏฐิระตะนะมุคคะโต
ติภะเว โสตถิชะนะโก สะตัสสะหัสสะ อายุโก.

๓๘. สังสาระสาคะรา โลเก สันตาเรตฺวา สะเทวะเก
นิพพาเปสิ จะ โส สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๓๙. สัฏฐิระตะนะมุพเพโธ ติสโส โลกัคคะนายะโก
อะนูปะโม อะสะทิโส อะตุโล อุตตะโม ชิโน.

๔๐. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน
อาโรคฺยัญจะ มะหาสุขัง โหตุ โน ตัสสะ เตชะสา.

๔๑. อัฎฐะปัณณาสะระตะโน ผุสโส โลกัคคะนายะโก
ชะนัมพุชัง วิโพเธนโต นิพพาเปนโต สะเทวะเก.

๔๒. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเก มะหายะโส
อุทธะรันโต พะหู สัตเต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๔๓. อะสีติระตะนุพเพโธ วิปัสสี โลกะนายะโก
ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา สัตตะ โยชะเน.

๔๔. โสปิ เทวะมะนุสสานัง พันธะนา ปะริโมจะยิ
อะสีติสะหัสสายุโก นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน.

๔๕. สัตตะตีหัตถะมุพเพโธ สิขี นาเมสะ นายะโก
ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา โยชะนัตตะเย.

๔๖. โสปิ อะตุลฺโย สัมพุทโธ สัตตะตีสะหัสสายุโก
กะโรตุ โน มะหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา.

๔๗. เวสสะภู นามะ สัมพุทโธ เหมะรูปะสะมูปะโม
สัฏฐีระตะนะมุพเพโธ สัฏฐี จะ สะหัสสายุโก.

๔๘. พฺรัหฺมะเทวะมะนุสเสหิ นาคาสุระทิเชหิ วา
ปูชิโตปิ สะทา นาโถ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๔๙. ตาฬีสะระตะนุพเพโธ กะกุสันโธ มะหามุนิ
ตัสสะ กายา นิจฉะรันติ ปะภา ทฺวาทะสะ โยชะเน.

๕๐. จัตตาฬีสะสะหัสสานิ ตัสสะ อายุ อะนุตตะโร
กะโรตุ โส สะทา นาโถ อายุง สุขัง พะลัญจะ โน.

๕๑. โกนาคะมะนะ สัมพุทโธ ติงสะหัตถะสะมุคคะโต
ติงสะวัสสะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน.

๕๒. ธัมมามะเตนะ ตัปเปตา เทวะสังฆัง สุราละเย
มะหีตะเล จะ ชะนะตัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๕๓. กัสสะโป นามะ สัมพุทโธ ธัมมะราชา ปะภังกะโร
วีสะตีหัตถะมุพเพโธ วีสัสสะหัสสะอายุโก.

๕๔. อะนูปะโมสะมะสะโม เทวะสัตถา อะนุตตะโร
กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรคฺยัญจะ ชะยัง สะทา.

๕๕. อัฏฐาระสะหัตถุพเพโธ โคตะโม สักกะยะวัฑฒะโน
สัพพัญญู สัพพะติละโก สัพพะโลกะสุขัปปะโท.

๕๖. สัมพุทโธ สัพพะธัมมานัง ภะเคหิ ภาคฺยะวา ยุโต
วิชชาจะระณะสัมปันโน โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.

๕๗. อัพภาตีตา จะ สัมพุทธา อะเนกะสะตะโกฏิโย
สัพพะโลกะมะภิญญายะ สัพพะสัตตานุกัมปิโน.

๕๘. สัพพะเวระภะยาตีตา สัพพะโลกะสุขัปปะทา
สัพพะโทสัง วินาเสนตา สัพพะโสตถิง กะโรนตุ โน.

๕๙. อะนาคะเต จะ สัมพุทโธ เมตเตยโย เทวะปูชิโต
มะหิทธิโก มะหาเทโว มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๖๐. สัพเพ ปัจเจกะสัมพุทธา นิโรธะฌานะโกวิทา
นิราละยา นิราสังกา อัปปะเมยยา มะเหสะโย.

๖๑. ทูเรปิ วิเนยเย ทิสฺวา สัมปัตตา ตังขะเณนะ เต
สันทิฏฐิกะผะเล กัตฺวา สะทา สันติง กะโรนตุ โน.

๖๒. สฺวากขาตะตาทิสัมปันโน ธัมโม สะปะริยัตติโก
สังสาระสาคะรา โลเก ตาเรติ ชินะโคจะโร.

๖๓. กิเลสะชาละวิทธังสี วิสุทโธ พุทธะเสวิโต
นิพพานะคะมะโน สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๖๔. สีลาทิคุณะสัมปันโน สังโฆ มัคคะผะเล ฐิโต
ชิตินทฺริโย ชิตะปาโป ทักขิเณยโย อะนุตตะโร.

๖๕. อะนาสะโว ปะริสุทโธ นิราสาโส ภะวาภะเว
นิพพานะโคจะโร สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๖๖. อัญญาตะโกณฑัญญัตเถโร รัตตัญญูนัง อัคโค อะหุ
ธัมมะจักกาภิสะมะโย สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๖๗. วัปปัตเถโร มะหาปัญโญ มะหาตะมะวิโนทะโน
มะหาสันติกะโร โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๖๘. ภัททิโย ภัททะสีโล จะ ทักขิเณยโย อะนุตตะโร
โลกัตถะจะริโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๖๙. มะหานาโม มะหาปัญโญ มะหาธัมมะวิทู สุโต
มะหาขีณาสะโว เถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๗๐. อัสสะชิตเถโร มะหาปัญโญ ชิตะมาโร ชิตินทฺริโย
ชิตะปัจจัตถิโก โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๗๑. อะนุปุพพิกะถัง สุตฺวา ยะโส เอกัคคะมานะโส
อัคคะธัมมะมะนุปปัตโต โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.

๗๒. จัตฺวาธิกา จะ ปัญญาสะ เถรา คิหิสะหายะกา
ปัตฺวานะ ปะระมัง สันติง สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.

๗๓. เย ติงสะ ภัททะวัคคิยา รูเปนาตุละวัณณิโน
ขีณาสะวา วะสีภูตา เต กะโรนตุ อะนามะยัง.

๗๔. อุรุเวละกัสสะโปปิ มะหาปะริสานะมุตตะโม
ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๗๕. โย นะทีกัสสะปัตเถโร ปุญญักเขตโต อะนุตตะโร
สะสังโฆ สีละสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.


๗๖. ธัมมะปัชชะลิโต สันโต โย เถโร คะยากัสสะโป
สังยุตโต ภะวะนิสฺเนเห สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๗๗. โลกะนาถัง ฐะเปตฺวานะ ปัญญะวันตานะ ปาณินัง
ปัญญายะ สาริปุตตัสสะ กะลัง นาคฆะติ โสฬะสิง.

๗๘. สาริปุตโต มะหาปัญโญ ปะฐะโม อัคคะสาวะโก
ธัมมะเสนาปะตี เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๗๙. ปาทังคุลิกะมัตเตนะ เวชะยันตะปะกัมปะโน
ปะฐะวิง มะหะติง สัพพัง สะมัตโถ ปะริวัตติตุง.

๘๐. โมคคัลลาโน มะหาเถโร ทุติโย อัคคะสาวะโก
อิทธิมันตานัง โส อัคโค สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๘๑. มะหากัสสะปัตเถโรปิ อุตตัตตะกะนะกันนิโภ
ธุตะคุณัคคะนิกขิตโต ตะติโย สัตถุสาวะโก.

๘๒. อะรัญญะวาสาภิระโต ปังสุกูละธะโร มุนิ
สุคะตัสสาสะนะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๘๓. อาปัตติอะนาปัตติยา สะเตกิจฉายะ โกวิโท
วินะเย อัคคะนิกขิตโต อุปาลิ สัตถุวัณณิโต.

๘๔. วินะเย ปาระมิปปัตโต วินะยัคโคจะโร มุนิ
กะโรตุ โน มะหาสันติง โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.

๘๕. อะนุรุทธะมะหาเถโร ทิพพะจักขูนะมุตตะโม
ญาติเสฏโฐ ภะคะวะโต โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.

๘๖. อุจจากุลิกานัง อัคโค ภัททิโย สุสะมาหิโต
กาฬิโคธายะ ปุตโต จะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๘๗. อานันโท พุทธุปัฏฐาโก สังคีติสาธุสัมมะโต
พะหุสสุโต ธัมมะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๘๘. กิมิโล สิริสัมปันโน มะหาสุขะสะมัปปิโต
มะหาขีณาสะโว ชาโต มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๘๙. คะรุวาสัง วะสิตฺวานะ ปะสันโน พุทธะสาสะเน
ภะคุ จาระหะตัง ปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๐. กุลัปปะสาทะชะนะโก กาฬุทายี มะหิทธิโก
เอตะทัคคัฏฐิโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๑. เสฏโฐ ธัมมะกะถิกานัง ติณณัง เวทานะ ปาระคู
ปุณโณ มันตานิยา ปุตโต เถโร โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๒. ภาระทฺวาโช มะหาเถโร สีหะนาทานะมุตตะโม
ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๓. สังขิตตะภาสิตะมัตถัง วิตถาเรนะ วิชานะโก
กัจจาโน ภะวะนิสฺเนโห เถโร โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๔. ละกุณฏะภัททิโย เถโร มัญชุสสะรานะมุตตะโม
ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๕. อะระณะวิหารินัง อัคโค ทักขิเณยโย อะนุตตะโร
สุภูติ ภูตะทะมะโน เถโร โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๖. อะรัญญะวาสินัง อัคโค เรวะโต ขะทิระวะนิโย
วิเวกาภิระโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๗. ฌายีนัง อุตตะโม เถโร กังขาเรวะตะนามะโก
สะมาธิฌานะกุสะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๙๘. โสโณ จะ โกฬิวีโสปิ อารัทธะวีริยานะมุตตะโม
ปะหิตัตโต สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน.

๙๙. กัลยาณะวากกะระณานัง โสโณ กุฏิกัณโณปิ จะ
อัคโคติ วัณณิโต เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน.

๑๐๐. ลาภีนะมุตตะโม เถโร สีวะลิ อิติ วิสสุโต
โส ระโต ปัจจะยาทิมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๐๑. สัทธาธิมุตตานัง อัคโค วักกะลิ อิติ นามะโก
ปาโมชชะพะหุโล เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๐๒. ราหุโล พุทธะปุตโตปิ สิกขากามานะมุตตะโม
ทายาโท สัพพะธัมเมสุ มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๐๓. สัทธายะ ปัพพะชิตฺวานะ รัฏฐะปาโล ปะรักกะมี
เอตะทัคเค ฐิโตเยวะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๐๔. กุณฑะธาโน มะหาเถโร สะลากัง ปะฐะมัง คะโต
ฐะปิโตเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๐๕. ปะฏิภาณะวันตานัมปิ อัคโคติ พุทธะวัณณิโต
วังคีโส อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๐๖. สะมันตะปาสาทิกานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต
อุปะเสโน วังคันตะปุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๐๗. ทัพโพ มัลละปุตโต เถโร เสนาสะนะปัญญาปะโก
ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๐๘. ปิลินทะวัจฉะสะมะโณ เทวะตานัง ปิโย อะหุ
ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.

๑๐๙. พาหิโยทารุจีริโย ขิปปาภิญญานะมุตตะโม
กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรคฺยัญจะ ชะยัง สะทา.

๑๑๐. กุมาระกัสสะปัตเถโร จิตตะกะถีนะมุตตะโม
มิจฉาวิตักกุปัจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๑๑. ปะฏิสัมภิทาปัตตานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต
โกฏฐิโต อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๑๒. อัปปาพาโธ มะหาเถโร อัปปาพาธานะมุตตะโม
พากุโล อะระหาชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๑๓. ปุพเพนิวาสะเวทีนัง อัคโคติ พุทธะวัณณิโต
โสภิโต นามะ โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๑๔. มะหากัปปินัตเถโรปิ ภิกขุโอวาทะโก อะหุ
กุสะโล โอวาทะทาเน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๑๕. ภิกขุโนวาทะกานัคโค นันทะโก อิติ วิสสุโต
ปาเลตุ โน สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน.

๑๑๖. อินทฺริเยสุ คุตตะทฺวาโร อัคคัฏฐาเน ฐิโต อะหุ
นันทัตเถโร วะสิปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๑๗. เตโชธาตุกุสะลานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต
สาคะโต นามะ โส เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน.

๑๑๘. สัญญาวิวัฏฏะกุสะโล ปะธาโน ภาวะนาระโต
พุทธะสิสโส มะหาปันโถ มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๑๙. จูฬปันถะกัตเถโรปิ มะโนมะยาภินิมมิโต
ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๒๐. ปะฏิภาเณยยะกานัง ตุ อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต
ราโธ เถโร มะหาโสตถิง กะโรตุ โน อะนามะยัง

๑๒๑. ลูขะจีวะระธะรานัง ภิกขูนัง อุตตะโม อะหุ
โมฆะราชะมะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๒๒. วิมะโล วิมะลัปปัญโญ สุรูโป สุสะมาหิโต
ระโช นะ ลิมปะติ ขันเธ มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๒๓. ธัมมะปาโล มะหาปาโล มะหาธัมมะธะโร ยะติ
มะหาขีณาสะโว โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๒๔. จักขุปาโล มะหาเถโร ปะธาโน สีละสังวุโต
ปะหิตัตโต มะหากาโย มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๒๕. สัพพะเวระภะยาตีโต นาระโท อาสะวักขะโย
มะหาสันติกะโร โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๒๖. พุทธะปูชายะ นิระโต ชินะภัตติปะรายะโน
สัทธัมมะสะวะโน เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๒๗. ปัจฉิมะภะวะสัมปัตโต โคตะโม ภาวะนาระโต
ราคักขะยะมะนุปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๒๘. เสนาสะเนสุ สัปปายัง ลัทธา ฌานัง สะมาระภิ
โคธิโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๒๙. พุทเธ ปะสันนะมานะโส สุพาหุ อัญชะลีกะโต
ขีณาสะโว วะสีภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๓๐. วิปัสสะนายะ ปะสุโต วัลลิโย สุสะมาหิโต
สะโต ฌายี วะเนวาสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๓๑. อุตติโย วินะยะธะโร อะติกกันโต นะรามะเร
ธาเรนโต อันติมัง เทหัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๓๒. วิมะโล วิระโชชัลโล ชาโต ปัณฑะระเกตุนา
พิมพิสารัทธะโช เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๓๓. รัมมารัญเญ วะสิตฺวานะ ภาเวนโต กุสะลัง พะหุง
โยคักเขมะมะนุปปัตโต สะภิโย สันติง กะโรตุ โน.

๑๓๔. ปุพเพนิวาสัง ชานันโต ทิพพะจักขุวิโสธะโน
นาคิโตระหะตัง ปัตโต โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.

๑๓๕. ปาติโมกขะมะนุปปัตโต วิชะโยรัญญะโคจะโร
ลาภาลาภี ตะถาสังสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๓๖. ตัณหาชะฏัง วิชะเฏตฺวา วัฑเฒตฺวานะ วิปัสสะนัง
สังฆะรักขิโต มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๓๗. อรัญญะวาสาภิระโต ภะวะเนตติสะมูหะโต
ธัมมานัง ปาระมิปปัตโต อุตตะโร ปาตุ โน ภะยา.

๑๓๘. ปุพเพ ปุญญานิ กัตฺวานะ ปุพพะโยคัง สะมาระภิ
อุสะโภระหะตัง ปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๓๙. สะมาปัตติสะมาปันโน ฉะฬะภิญโญ มะหิทธิโก
สิวะโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๔๐. สัตตาริยะธะโน เถโร ธะนิโย ธัมมะสาคะโร
วันตะสังสาระคะมะโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๔๑. ปัญจักขันเธ ปะริญญายะ ภาวะยิตฺวานะ นิพพุติง
ปัตตฺวานะ ปะระมัง สันติง โปสิโย ปาตุ โน ภะยา.

๑๔๒. อุปะนิสสะยะสัมปันโน อุชชะโย พุทธะมามะโก
โลกัตถะปะสุโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๔๓. พุทธัปปะสาทะสัมปันโน ปัพพะชี ชินะสาสะเน
สัญชะโย นามะ โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๔๔. มารัญชะโย มะหาเถโร รามะเณยโย มะหิทธิโก
นิพพานะนินนะจิตโต โส สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๔๕. อุโภ ปาปัญจะ ปุญญัญจะ วีติวัตโต อะนาสะโว
วีรัตเถโรระหัปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๔๖. ปุณณะมาสะมะหาเถโร ปังสุกูละธะโร ยะติ
ปุพพะกิจจะวิธิง กัตฺวา มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๔๗. ปัญจะฉินโน ปัญจะชะโห ปัญจะจุตตะริภาวะโน
ปัญจะสังคาติโค เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๔๘. ปุพเพ ราคัง วิจาเรนโต ชินะภัตติปะรายะโน
เพลัฏฐะสีโส วังสะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๔๙. ปัญจุปปันนานิ อะภะโย นิกันติ นัตถิ ชีวิเต
อะชิโต โส มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๕๐. วิวัฏฏะนิสสะเย ปุญเญ กัตฺวา สัมพุทธะภัตติมา
กุลลัตเถโรระหัปปัตโต มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๕๑. วิปัสสี ธัมมะทายาโท เถโร นิโคฺรธะนามะโก
นิพพานาคะมะสันทิฏโฐ สะทา สันติง กะโรตุ โน.

๑๕๒. ติสโส วิชชา อะนุปปัตโต สุคันโธ นามะ โสระหา
สัพพะปาปะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๕๓. นันทิโย สัทธาสัมปันโน ชิตะกเลโส มะหาเถโร
อะภิญญาปาระมิปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๕๔. กิเลสา ฌาปิตา เยนะ ชิตะธัมมะระเตนะ โส
กัมมาระปุตตะวิมะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๕๕. เทวะโลกะมะนุสเสสุ อะนุภุตฺวา วิภูติโย
ติสสัตเถโร มะหาภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๕๖. สุวิมุตโต มะหานาโค ตีหิ วังเกหิ มุตตะโก
สุมังคะโล มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.

๑๕๗. นิรัคคะโฬ นิราสาโส มะละขีละวิโสธะโน
วิเวกาภิระโต คุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๕๘. ปะวิเวกะมะนุปปัตโต คิริมานันทะนามะโก
ภาเวนโต กุสะเล ธัมเม สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๕๙. พุทธะสาสะนะมารัทโธ สะมิทธิ ภาวะนาระโต
สะมิทธิคุณะสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๐. อาราธิตะชิโน สันโต โชติตเถโร มะหาระหา
วิมุตโต สัพพะสังสารา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๑. เสนาสะนานิ ปันตานิ เสวันโต ฌานะมาระภิ
ฉะฬะภิญโญ มะหาจุนโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๒. ฉันนัตเถโร สะหะชาโต สุณันโต ชินะสาสะนัง
โยคักเขมะมะนุปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๓. เมฆิโย พุทธุปปัฏฐาโก ชินะภัตติปะรายะโน
มิจฉาวิตักกุปัจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๔. อุปะวาโณ มะหาเถโร มะหากาโย มะหาระหา
มะหิทธิโก มะหาเตโช สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๕. สังกิจโจ โจระทะมะโน สัพพะสังโยชะนักขะโย
ปาเลตุ โน สัพพะภะยา โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.

๑๖๖. ปัญหะพฺยากะระเณ เฉโก เมตตาฌานะระโต ยะติ
โสปาโกปายะสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๗. เขตตะสัมปัตติสัมปัตโต วัฑฒะมาโนวะ โสตถินา
สุมะโน อะระหา ชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๘. ปิโย เทวะมะนุสสานัง สานุตเถโร พะหุสสุโต
เมตตาฌายี ตะโมฆาตี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๖๙. โย จะ ปุพเพ กะตัง ปาปัง กุสะเลนะ ปิธียะติ
อังคุลิมาโล โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.

๑๗๐. วิปัสสะนาธุรา เยปิ เถรา สะมะถะยานิกา
ขีณาสะวา มะหาเตชา มะหาตะมะวิโนทะนา.

๑๗๑. ฌานิกา

หมายเลขบันทึก: 373199เขียนเมื่อ 9 กรกฎาคม 2010 08:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 23:10 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท