เครียดแล้วเผา เรา หรือ ใครรับผิดชอบ


เครียดมาเยือนเตือนให้คิด

 จริง หรือ นี่ คือ ลัทธิเอาอย่าง หรือ ทำตามผู้ใหญ่ "เครียด แล้ว เผา" หากเป็นเราจะทำอย่างไร

 อ่านบทความในหนังสือพิมพ์ ที่สัมภาษณ์ ครูคำหมาน คนได หรือ อาจารย์ สมพงษ์ พละสูรย์ ผู้เขียนหนังสือ ครูบ้านนอก เรื่องราวที่เชื่อมโยงไปสู่ "เครียด แล้ว เผา"

 งานนี้ครูที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ฝ่ายกิจการนิสิตนักศึกษา ได้นำมา "วิเคราะห์ เพื่อวางแนวทาง บริหารความเสี่ยง หลีกเลี่ยง ไม่ให้เกิดอีกได้อย่างไร"

 

 ในอดีตมี นักศึกษาแห่งหนึ่ง กระโดดตึกสูงที่สุดของอาคารเรียนรวม ในกระเป๋ากางเกง มีจดหมายน้อย เขียนว่า ไปปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว แนะนำว่า เรียนไม่ได้ก็ไปตายซะ

 ต้นปีการศึกษา เริ่มต้นของ "ตำนานชีวิต" ที่อาจทำให้ นักเรียน นิสิต หรือ นักศึกษา อาจ

 "คิดไม่ไม่ได้"

 "คิดไม่ทัน"

 "คิดไม่ถึง"

 "สิ้นคิด"

 "คิดไม่เป็น"

 "ไม่เคยคิด"

 เราเตรียมการบริหารความเสี่ยง หลีกเลี่ยงเรื่องราวเสียวๆอย่างนี้อย่างไรครับ ลอง มา เล่าสู่ Best หรือ Good Practice เล่าสู่เพื่อเป็นวิทยาทาน ครับ

JJ2010 ฅนสานฝัน

 

หมายเลขบันทึก: 366375เขียนเมื่อ 14 มิถุนายน 2010 13:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 23:03 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

สวัสดีค่ะอาจารย์

การสื่อสารสำคัญมากนะค่ะ การพูดท้าทายอาจเกิดอารมณ์ชั่ววูบนำมาสู่การสูญเสีย ส่วนเรื่องเครียดแล้วเผา พูดยากนะค่ะอาจารย์

สวัสดีค่ะ

แวะมาทักทายอาจารย์ค่ะ อาจารย์สบายดีนะคะ

เรียนท่านถาวร สื่อสาร เพื่อหาทางออก บอกแนวที่ควรทำ นิ ครับ

สวัสดีครับ ท่านอาจารย์ JJ

คิดไม่ทัน  คิดไม่ถึง  ยังดีหน่อย

คิดไม่เป็น คิดไม่ได้  ต้องใช้ความพยายาม

สิ้นคิด  ไม่เคยคิด  ยากหน่อย

สำหรับผมเองคิดว่า สำคัญคือแรงจูงใจนะครับ เชื่อใจ ไว้ใจ ปลอดภัย ใฝ่ดี

แต่อาจยังไม่เท่า รู้แต่ไม่คิด รู้แต่ไม่ทำ นี่ยากสุดๆ

ขอบคุณสำหรับบทความดีๆ นะครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท