เมื่อกล่าวถึงบทบัญญัติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติฉบับที่53/111 ลงวันที่ 9 ธันวาคม ปี ค ศ 1998 ชึ่งสมัชฌาใหญ่ได้ตกลงสร้างตั้งคณะกำมาธิการเฉพาะกริจระหว่างรัฐบาลขึ้น โดยไม่มีกำหนดอายุความเพื่อจุดประสงค์เพื่อทำการศึกษา สร้างสนธิสัญญาสากลอันคบชุด เพื่อต้านกับอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองกรค์กร และ สนทนาเกี่ยวกับการสร้างสนธิสัญญาสากลเพื่อแก้ไขปัญหาการค้าหญิง และเด็ก
การค้ามนุษย์ในปัจจุบันได้รับการพิจารณาว่า เป็นส่วนหนึ่งของอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นการระเมีดสิทธิมุนษย์ชนที่ร้ายแรง และเป็นปัญหาที่บั่นทอนความมั่นคงของมุนษย์ การที่องการสหประชาชาติ รับรองพิธีสารเรื่องการปราบปราม และลงโทษค้ามุนษย์ โดยเฉพาะการค้าญิงและเด็กชึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญยาต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติถือได้ว่าเป็นการประกาศเจตนารมณ์ของประชาคมโลกในอันที่จะร่วมมือกันปราบปรามแก้ไขปัญหานี้ให้หมดไป ถึงอย่างไรก็ตามการดำเนีนงานก็ยังประสบปัญหาและอุปสรรคมากมาย ทั้งนี้เนื่องมาจากความสลับชับช้อนของสาเหตุและปัจจัยที่ผลักดันให้มนุษย์โดยเฉพาะผู้หญิงและเด็กต้องตกเป็นเหยื่อของการค้ามษุนย์ทั้งภายในประเทศ และนอกประเทศ จึงเป็นเรื่องที่ถึงเวลาแล้วที่เราต้องกลับมาให้ความสำคัญแก่ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มากขึ้นเพื่อความสุขและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
โดยเฉพาะผู้หญิงไม่ว่าอยู่ในประเทศในแล้วมักจะเป็นเพศที่ถูกระทำเสมอ..ยิ่งมีการนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของนำผู้หญิงมาซื้อขายกันเป็นสิ่ง..เสมือนการเปรียบเทียบค่าของผู้หญิงมีต่ำต้อยยิ่งนัก เราจึงควรปกป้องการกระทำดังกล่าวร่วมกันไม่ใช่เฉพาะในประเทศไทยแต่รวมไปถึงระดับนานาชาติด้วย โดยการทำสนธิสัญญาร่วมกัน และในระดับภายในประเทศเองไม่ว่าภาครัฐหรือเอกชนก็ความที่ให้ความรู้และวิธีป้องกันไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของวงจรอุบาทว์นี้
กลับมาอ่านงานชิ้นนี้ของคุณบุญมีอีกหน
มีคำถามว่า ในประเทศลาว มีการลงทุนเกี่ยวกับธุรกิจที่เกี่ยวกับสถานบริการที่อาจเบี่ยงเบนไปสู่การค้าหญิงและค้าเด็กมากไหม ? และมีกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องนี้ไหมคะ ? ชื่ออะไร ?