hunnnoi
นาย อับดุลฮันนาน มาหะมะ

สาระ อัลกุรฺอาน(อรรถาธิบาย)


วิชาอัลกุรฺอาน(อรรถาธิบาย)

สาระการเรียนรู้ วิชาอัลกุรฺอาน

มาตรฐาน 1  เข้าใจประวัติ ความสำคัญ หลักการอ่าน และหลักการอรรถาธิบาย

อัล-กุรฺอาน  สามารถอ่าน ท่องจำ อรรถาธิบาย เห็นคุณค่า และนำไปใช้

ในการดำเนินชีวิตอย่างสันติสุข

ระดับชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

ป. 1

1.  บอกความหมายของสูเราะฮฺที่กำหนด โดยสรุป

 

2.  อ่านพยัญชนะ ตามหลักการที่กำหนด

3.  ท่องจำสูเราะฮฺที่กำหนด

     

1.  ความหมาย ของอัล-กุรฺอานและสูเราะฮฺ

       -  อัล-ฟาติหะฮฺ (الفاتحة)      

       -  อัล-อิคลาศ  (الاخلاص)

2.  การอ่านตามหลักการ

      -  พยัญชนะฮิญาอียะฮฺ ( هجائية)

      - พยัญชนะที่มีสระฟัตหะฮฺ

     - พยัญชนะที่ออกเสียงที่แตกต่างกัน

     - การประสมพยัญชนะ

      - การอ่านสั้นและยาวโดยอะลิฟ

3.  การท่องจำสูเราะฮฺ

      -  อัล-ฟาติหะฮฺ (الفاتحة)      

      -  อัล-อิคลาศ  (الاخلاص) 

 

ป. 2

1.  บอกความหมาย ความเป็นมาของ

สูเราะฮฺที่กำหนดโดยสรุป

2.  อ่านพยัญชนะตามหลักการที่กำหนด

3.  ท่องจำสูเราะฮฺที่กำหนด

    

1. ความหมาย ความเป็นมาของอัล-กุรฺอานและสูเราะฮฺ

    -  อัน-นาส    (الناس) 

    -  อัล-ฟะลัก   (الفلق)           

2. การอ่านพยัญชนะในอัล-กุรฺอาน

    - พยัญชนะที่มีสระฟัตหะตัยนฺ

    กัสเราะตัยนฺ    ฎ็อมมะตัยนฺ

     -  พยัญชนะที่มีสระฟัตหะตัยนฺ   กัสเราะตัยนฺ และฎ็อมมะตัยนฺก่อนพยัญชนะ   و     และ   ي

     -  พยัญชนะที่มีสระสุกูน

     -  พยัญชนะที่มีสระกัสเราะฮฺและ  ฎ็อมมะฮฺ

       - การอ่านออกเสียงสั้น  และอ่านออกเสียงยาวโดยพยัญชนะยาอฺ

       -  การอ่านนูนและมีมสุกูน

       -  การอ่านอัยนฺสุกูนและฮัมซะฮฺสุกูน

       -  การอ่านกอลกอลอฮฺ ( قلقلة )

        (اْ)        -  สระที่มีสระสุกูน

3.  การท่องจำสูเราะฮฺ

     -  อัน-นาส    (الناس) 

     -  อัล-ฟะลัก   (الفلق)      

ป. 3

1.  บอกความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของสูเราะฮฺที่กำหนดโดยสรุป

2.  อ่านพยัญชนะตามหลักการที่กำหนด

3.  ท่องจำสูเราะฮฺที่กำหนด

1. ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของอัล-กุรฺอานและสูเราะฮฺ

      -  อัล-มะชัด    (المسد)

      -  อัน-นัศรฺ     (النصر)          

      -  อัล-กาฟิรูน  (الكافرون)         

2. การอ่านพยัญชนะในอัล-กุรฺอาน

         -  การอ่านฮัมซะฮฺวอซัล 

         -  การอ่านนูนสุกูน             

         -  การอ่านหยุดโดยตันวีน ( -ً-ٍ-ٌ )

         -  การอ่านสระ  (~ ) และมีเสระสุกูน  

     -  การอ่านคำลัฟซุลญะลาละฮฺ

     -  เครื่องหมายต่าง ๆ ในอัล-กุรฺอาน

     -  การหยุดโดยฮัมซะฮฺที่มีสระฟัตหะตัยนฺ

     -  การอ่านพยัญชนะมุก็อฏฏออะฮฺ 

3.  การท่องจำสูเราะฮฺ

     -  อัล-มะชัด    (المسد)

     -  อัน-นัศรฺ     (النصر)          

     -  อัล-กาฟิรูน  (الكافرون)

ป. 4

1.  บอกความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของสูเราะฮฺที่กำหนดโดยสรุป2.  อ่านอัล-กุรฺอานยุซที่ 1-10  ตามหลักการหุกุมนูนสากินะฮฺ

3.  ท่องจำสูเราะฮฺที่กำหนด

     

1. ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของ  สูเราะฮฺ

      -  อัล-เกาซัรฺ  (الكوثر)           

      -  อัล-มาอูน  (الماعون)

      -  กุร็อยซฺ  (قريش)                   

      -  อัล-ฟีล  (الفيل)

     2.1 การอ่านตามหลักการอ่าน

       - การอ่านหุกุมนูนสากินะฮฺและตันวีน

           - อิคฟาอฺ  (اخفاء)

           - อิดฆอม  (ادغام)

           - อิดฆอมบิลาฆุนนะฮฺ (ادغام بلاغنة)

           - อิดฆอมมาอัลฆุนนะฮฺ (ادغام مع الغنة )

    - อิกลาบ (اقلاب)

     - อิซฮาร (ا ظهار)

     -  การอ่านก็อลกอละฮฺ (قلقلة)

     2.2 อ่านอัล-กุรฺอานยุซที่  1 - 10  

 3. การท่องจำสูเราะฮฺ

      -  อัล-เกาษัรฺ  (الكوثر)           

      -  อัล-มาอูน  (الماعون)

      -  กุร็อยซฺ  (قريش)                   

      -  อัล-ฟีล  (الفيل)

ป. 5

1.  บอก ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของสูเราะฮฺที่กำหนดโดยสรุป

2.  อ่านอัล-กุรฺอาน ยุซที่ 11 – 20   ตามหลักการหุกุมมีม

3.  ท่องจำสูเราะฮฺที่กำหนด

 

1. ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของ  สูเราะฮฺ

      -  อัล-ฮุมะซะฮฺ  (الهمزة)

      -  อัล-อัศรฺ  (العصر)                   

      -  อัต-ตะกาษุรฺ  (التكاثر)

      -  อัล-กอริอะฮฺ  (القارعة)

      -  อัล-อาดียาต  ( العاديات  )

2.  หลักการอ่าน

    2.1 หลักการอ่านหุกุมมีม

   - อิคฟาอฺซะฟะวี (اخفاء شفوي)

   - อิดฆอมมิษลัยนฺ (ادغام مثلين)

   - อิซฮารซะฟะวี    (اظهار شفوي)               

    2.2 อ่านอัล-กุรฺอาน ยุซที่  11 - 20    

3.  การท่องจำสูเราะฮฺ

      -  อัล-ฮุมะซะฮฺ  (الهمزة)

      -  อัล-อัศรฺ  (العصر)                   

      -  อัต-ตะกาษุรฺ  (التكاثر)

      -  อัล-กอริอะฮฺ  (القارعة)

      -  อัล-อาดิยาต  (العاديات )

ป. 6

1.  บอก ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของสูเราะฮฺที่กำหนดโดยสรุป

2.  อ่านอัล-กุรฺอานยุซที่  21 – 30  ตามหลักการมัดดฺ

3.  ท่องจำสูเราะฮฺที่กำหนด

 

1. ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของ  สูเราะฮฺ  

    -  อัซ-ซัลซะละฮฺ  (الزلزلة)

     - อัล-บัยยินะฮฺ ( البينة)

     - อัล-ก็อดรฺ(القدر)

     - อัล-อะลัก العلق))

2. หลักการอ่าน

   2.1 หลักการอ่านมัดดฺ

       - มัดอัศลี  ( مد اصلي)

       - มัดฟัรอี  ( مد فرعي)

      - มัดมุตตะศิล  ( مد متصل)

       - มัดมุนฟะศิล  (  مد منفصل)

       - มัดอาริฎฎิสสุกูน (مد عارض للسكون)

            - มัดบะดัล (مد بدل)

            - มัดอิวัฎ  (مد عوض)

            - มัดลีน (مد لين)

            - มัดศิละฮฺ (مد صلة)

            - มัดฟัรกฺ (مد فرق)

            - มัดตัมกีน (مد تمكين)

            - มัดลาซิม(مد لازم)

          - ลาซิมมุษักกอลกะลิมี (لازم مثقل كلمي)

          - ลาซิมมุคอฟฟัฟกะลิมี (لازم مخفف كلمي)

          - ลาซิมมุษักกอลฮัรฟี  (لازم مثقل حرفي )

        - ลาซิมมุคอฟฟัฟหัรฟี (لازم مخفف حرفي)            

   2.2 อ่านอัล-กุรฺอาน ยุซที่  21 – 30

3.  การท่องจำสูเราะฮฺ       

        -  อัซ-ซัลซะละฮฺ  (الزلزلة)

        - อัล-บัยยินะฮฺ ( البينة)

        - อัล-ก็อดรฺ(القدر)

        - อัล-อะลัก العلق))

ม. 1

1. อธิบาย ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของอัล-กุรฺอานและสูเราะฮฺ    ที่กำหนด 

2. อ่านพยัญชนะที่เริ่มต้นสูเราะฮฺ          การวะกัฟพยัญชนะที่มีสระตันวีนลงท้ายด้วย “อะลิฟ” และคำที่ลงท้ายด้วย “ตามัรฺบูเฏาะฮฺ  การอ่าน  " اناْ " และกฎของอิซฮารฺ اظهار ตามหลักการ

3. ท่องจำและอรรถาธิบายสูเราะฮฺที่กำหนด

     

1. ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญ ของอัล-กุรฺอานและสูเราะฮฺ

        - อัต-ตีน  (التين)

       - อัช-ชัรหฺ ( الشرح)

       - อัฎฎุหา (الضحى)

       -  อัล-ลัยลฺ  (الليل)        

       -  อัซ-ซัมสฺ  (الشمس)     

       - อัล-บะลัด (البلد)

2. อ่านตามหลักการ

     - พยัญชนะที่เริ่มต้นสูเราะฮฺ

     - การวากัฟที่พยัญชนะที่มีสระตันวีน       ลง ท้ายด้วยอะลิฟ และคำที่ลงท้ายด้วย “ตามัรฺบูเฏาะฮฺ  (ة)

   - การอ่าน  (اناْ)

       -กฎของอิซฮารฺ (اظهار)

    - อิซฮารฺมุฏลัก (مطلق  اظهار)

    - อิซฮารฺกอมารียฺ (اظهار قمري)  

    - อิซฮารฺอิดฆอม (  اظهار ادغام)

           - อิซฮารฺอาม  (عام   اظهار)       

3.  การท่องจำและอรรถาธิบายสูเราะฮฺ

        - อัต-ตีน (التين)

        - อัช-ชัรหฺ (الشرح)

        - อัฎฎุหา   (الضحى)

        -  อัล-ลัยลฺ   (الليل)      

        -  อัซ-ซัมสฺ (الشمس)  

        - อัล-บะลัด  (البلد)

ม. 2

1. อธิบาย ความหมาย ความเป็นมา และความสำคัญของสูเราะฮฺที่กำหนด

2. อ่านตามหลักการของอิดฆอม (ادغام)

3. ท่องจำและอรรถาธิบายสูเราะฮฺที่กำหนด

1. ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญ และอรรถาธิบายของสูเราะฮฺ

       - อัล-ฟัจรฺ (الفجر)

       - อัล-ฆอชียะฮฺ (الغاشية)

       - อัล-อะอฺลา (الأعلى)

       - อัล-ฏอริก (الطارق)

2. อ่านตามหลักการของอิดฆอม (ادغام)

- อิดฆอมมุตะมาษิลัยนฺ (ادغام متماثلين)

- อิดฆอมมุตะกอริบัยนฺ (ادغام متقاربين)

- อิดฆอมมุตะญานิษัยนฺอัตตาม               

 (ادغام متجانسين التام  )

- อิดฆอมมุตะญานิษัยนฺอันนากิศ

 (ادغام متجانسين الناقص  )

- อิคฆอมอัชชัมยะฮฺ  (ادغام الشمسية)

- อิดฆอมอัลอาม (ادغام العام  )

3.  การท่องจำสูเราะฮฺ

       - อัล-ฟัจรฺ (الفجر)

       - อัล-ฆอชียะฮฺ (الغاشية)

       - อัล-อะอฺลา (الأعلى)

       - อัล-ฏอริก (الطارق)

ม. 3

1. อธิบาย ความหมาย ความเป็นมา      และความสำคัญของสูเราะฮฺที่กำหนด

2. อ่านตามหลักการสักตฺ  การหยุด  เครื่องหมายการหยุด บัสมาละฮฺ อิสติอาซะฮฺ ลามมูตาหัรรีกะฮฺ

3. ท่องจำและอรรถาธิบายสูเราะฮฺที่กำหนด

     

1. ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญ      และอรรถาธิบายของสูเราะฮฺ

     - อัล-บุรูจญฺ  (البروج)

     - อัล-อินชิก็อก (الانشقاق)

     - อัล-มุฏอฟฟิฟีน (المطففين)

     - อัล-อินฟิฏอรฺ (الانفطار)

2. หลักการอ่านอัล-กุรฺอาน

- อัส-สักตฺ  (سكتة)

- การหยุด   (وقف)

- เครื่องหมายการหยุด (علامات الوقف)

- กฎการอ่าน อิสติอาซะฮฺ (استعاذة)                          และบัสมาละฮฺ (بسملة)

- กฎการอ่าน (لام متحركة  )

3. การท่องจำและอรรถาธิบายสูเราะฮฺ

     - อัล-บุรูจญฺ  (البروج)

     - อัล-อินชิก็อก (الانشقاق)

     - อัล-มุฏอฟฟิฟีน (المطففين)

     - อัล-อินฟิฏอรฺ (الانفطار)

ม. 4-6

1.  อธิบาย หลักการอรรถาธิบาย เหตุผลของการประทานสูเราะฮฺมักกียะฮฺและ    มะดะนียะฮฺ  และอัล-วะฮฺยู

2. อ่านตามหลักการมุเญาวะดะฮฺที่กำหนด

3. ท่องจำ และอรรถาธิบายสูเราะฮฺที่กำหนด

 

1.  หลักการอรรถาธิบายอัล-กุรฺอาน

      - ความหมายของหลักการอรรถาธิบาย    อัล-กุรฺอาน

      - เหตุผลของการประทานสูเราะฮฺ

      - สูเราะฮฺมักกียะฮฺและสูเราะฮฺมะดะนียะฮฺ   

      - อัล-วะฮฺยู

2. หลักการมุเญาวะดะฮฺ

     - อัต-ตักวีรฺ (التكوير)

     - อัน-นะบาอฺ (النبأ)

    - อัน-นาซีอาตฺ (النازعات)

    - อะบะสะ (عبس)

3. การท่องจำ และอรรถาธิบายสูเราะฮฺ

    - อัต-ตักวีรฺ (التكوير)

    - อัน-นะบาอฺ (النبأ)

    - อัน-นาซีอาตฺ (النازعات)

    - อะบะสะ (عبس)

 

ม. 4-6

1. อธิบายหลักการอ่านอัล-กิรออาตฺ และหลักการอรรถาธิบายอัล-กุรฺอานเกี่ยวกับอันนาสิค-วัลมันสูค  อัลอาม-วัลคอศ  

อัลมุหฺกัม-วัลมุตะชาบะฮฺ

2. อ่านตามหลักการมุเญาวะดะฮฺสูเราะฮฺที่กำหนด

3. ท่องจำ และอรรถาธิบายสูเราะฮฺ

     

1. หลักการอ่านอัล-กิรออาตฺ (القراءات)

2. หลักการอรรถาธิบายอัล-กุรฺอานเกี่ยวกับ

   - อันนาสิค วัล-มันสูค   (الناسخ والمنسوخ)

   - อัลอาม-วัลคอศ  (العام والخاص)

   - อัลมุหฺกัม-วัลมุตะชาบะฮฺ (المحكم والمتشابه)

3. หลักการอ่านมุเญาวะดะฮฺสูเราะฮฺ

 -  อัล-มุลกฺ        (الملك)

 -  อัส-สัจญดะฮฺ   (السجدة) 

 -  อัล-อินสาน    (الإنسان)

4. การท่องจำ และอรรถาธิบายสูเราะฮฺ

 -  อัล-มุลกฺ        (الملك)

 -  อัซ-สัจญดะฮฺ   (السجدة) 

 -  อัล-อินสาน    (الإنسان)                              

ม. 4-6

1. อธิบายหลักการอรรถาธิบายอัล-กุรฺอาน อัล-มุฏลัก วัล-มุก็อยยัด นัชอะตุต-ตัฟซีรฺ

2. อ่านมุเญาวะดะฮฺของสูเราะฮฺที่กำหนด

3.  ท่องจำ และอรรถาธิบายสูเราะฮฺที่กำหนด

 

1. หลักการอรรถาธิบายอัล-กุรฺอาน

       - อัล-มุฏลัก วัล-มุก็อยยัด(المطلق والمقيد)

       - นัจญฺอะตุต-ตัฟสีรฺ (نجعة التفسير)

       - นักอรรถาธิบายที่มีชื่อเสียง

2. หลักการอ่านมุเญาวะดะฮฺของสูเราะฮฺ

       -  ยาสีน      (يٰس)

      -  อัล-วากิอะฮฺ  (الواقعة)

3.  การท่องจำ และอรรถาธิบายสูเราะฮฺ

         -  ยาสีน      (يٰس)

         -  อัล-วากิอะฮฺ  (الواقعة)

 

มาตรฐาน  2   ยึดมั่นในบทบัญญัติของอัล-กุรฺอาน และนำไปปฏิบัติเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

ระดับชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

ป. 1

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเองและบุคคลใกล้ชิดอย่างเหมาะสมตามวัย

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

      -  อัล-ฟาติหะฮฺ (الفاتحة)      

      -  อัล-อิคลาศ  (الاخلاص) 

ป. 2

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเองและต่อบุคคลใกล้ชิดอย่างเหมาะสมตามวัย

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

      -  อัน-นาส    (الناس) 

      -  อัล-ฟะลัก   (الفلق) 

ป. 3

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเองและบุคคลใกล้ชิดอย่างเหมาะสมตามวัย

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

      -  อัล-มะสัด    (المسد)

      -  อัน-นัศรฺ     (النصر)          

      -  อัล-กาฟิรูน  (الكافرون)      

ป. 4

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเองและผู้อื่น เพื่ออยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

      -  อัล-เกาษัรฺ  (الكوثر)           

      -  อัล-มาอูน  (الماعون)

      -  กุร็อยชฺ  (قريش)                   

      -  อัล-ฟีล  (الفيل)

ป. 5

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเองและผู้อื่น เพื่ออยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

      -  อัล-ฮุมะซะฮฺ  (الهمزة)

      -  อัล-อัศรฺ  (العصر)                  

      -  อัต-ตะกาษุรฺ  (التكاثر)

      -  อัล-กอริอะฮฺ  (القارعة)

      -  อัล-อาดิยาต  ( العاديات  )

ป. 6

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเองและผู้อื่นเพื่ออยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

    -  อัซ-ซัลซะละฮฺ  (الزلزلة)

     - อัล-บัยยินะฮฺ ( البينة)

    - อัล-ก็อดร (القدر)

    - อัล-อะลัก العلق))

ม.1

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

 

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

    - อัต-ตีน (التين)

    - อัช-ชัรหฺ (الشرح)

     - อัฎฎุหา   (الضحى)

     -  อัล-ลัยลฺ   (الليل)      

     -  อัช-ชัมสฺ  (الشمس)  

     - อัล-บะลัด  (البلد)

ม. 2

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

 

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

     - อัล-ฟัจรฺ (الفجر)

     - อัล-ฆอชียะฮฺ (الغاشية)

     - อัล-อะอฺลา (الأعلى)

     - อัล-ฏอริก (الطارق)

ม. 3

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่กำหนด  มาปฏิบัติต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

 

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

     - อัล-บุรูจญฺ  (البروج)

     - อัล-อินชีก็อก (الانشقاق)

     - อัล-มุฏอฟฟิฟีน (المطففين)

     - อัล-อินฟิฏอรฺ (الانفطار)

ม. 4-6

1. นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่เกี่ยวกับความอดทน ความเมตตา การให้อภัย  ความบริสุทธิ์ใจ การถ่อมตน การสำนึก การดำรงอยู่ในแนวทางอันเที่ยงตรง และความยำเกรง เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตร่วมกัน   ในสังคมอย่างสันติสุข

 1.  หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ  

- อัต-ตักวีรฺ (التكوير)

- อัน-นะบาอฺ (النبأ)

       -  ความอดทน ความเมตตา และการให้อภัย

2.  หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ  

- อัน-นาซีอาตฺ (النازعات)

       - อะบะสะ (عبس)

       - ความบริสุทธิ์ใจ การถ่อมตน การสำนึก การดำรงอยู่ในแนวทางอันเที่ยงตรง ความยำเกรง

ม. 4-6

1.นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่เกี่ยวกับระบบครอบครัวอิสลามและการศึกษาระบบอิสลามในอัล-กุรฺอาน  ปฏิบัติต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

   -  อัล-มุลกฺ  (الملك)

   -  อัซ-สัจญดะฮฺ   (السجدة) 

   -  อัล-อินสาน    (الإنسان)

   - ระบบครอบครัวอิสลามในอัล-กุรฺอาน

   -  การศึกษาระบบอิสลาม

   -  การปฏิบัติตนต่อตนเอง  ครอบครัว  และชุมชน

ม. 4-6

1.  นำหลักคำสอนของสูเราะฮฺที่เกี่ยวกับการศึกษากฎหมายอิสลามและกฎหมายบ้านเมือง  การเมือง  การปกครอง และเศรษฐศาสตร์ในอิสลาม โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบจากอัล-กุรฺอาน

1. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

      -  ยาสีน      (يٰس)

    - กฎหมายอิสลามและกฏหมายบ้านเมืองโดยวิเคราะห์และเปรียบเทียบจาก             อัล-กุรฺอาน

2. หลักคำสอนของอัล-กุรฺอานสูเราะฮฺ

        -  อัล-วากิอะฮฺ  (الواقعة)

        - การเมือง การปกครอง และเศรษฐศาสตร์ในอิสลาม โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบจากอัล-กุรฺอาน            

หมายเลขบันทึก: 363390เขียนเมื่อ 3 มิถุนายน 2010 09:46 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 15:52 น. ()สัญญาอนุญาต: ไม่สงวนสิทธิ์ใดๆจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท