หลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้


มารตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 2

คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบช่วงชั้นที่  2  (ป.4-6)  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาสาสตร์

                  

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

1.เข้าใจโครงสร้างและการทำงานของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ที่หลากหลายในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน

 

  1. โครงสร้าง
  2. การทำงานของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิต
  3. ความสัมพันธ์ที่หลากหลายของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน

1.อธิบายการทำงานของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิต

2.อธิบายความสัมพันธ์ที่หลากหลายของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน

1.ความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน

2.ความมีเหตุผล

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

2.เข้าใจสมบัติของวัสดุ   สถานะของสาร  การแยกสาร  การทำให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง

 

1.สมบัติของวัสดุ

2.สถานะของสาร

3.การแยกสาร

4.การทำให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง

 

 

1.อธิบายสมบัติของวัสดุ

2.อธิบายลักษณะของสาร

3.จำแนกสาร

4.ทดลองการทำให้สารเกิดการ

เปลี่ยนแปลง

 

1.ความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน

2.ความมีเหตุผล

3.การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

 

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

3.เข้าใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทำกับวัตถุ  หลักการเบื้องต้นของแรงลอยตัว  สมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้นของเสียงและวงจรไฟฟ้า

1.ผลที่เกิดจากการออกแรงกระทำกับวัตถุ

2.หลักการเบื้องต้นของแรงลอยตัว

3.สมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้นของแสง   เสียงและวงจรไฟฟ้า

1.การทดลองการออกแรงกระทำวัตถุ

2.การทดลองเกี่ยวกับแรงลอยตัว

3.การทดลองเกี่ยวกับสมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้นของแสง  เสียงและวงจรไฟฟ้า

1.ความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน

2.ความมีเหตุผล

3.การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

4.ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์

 

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

4.เข้าใจลักษณะ   องค์ประกอบสมบัติของผิวโลก  และบรรยากาศ  ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์  โลก  และดวงจันทร์  ที่มีผลต่อการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ

1.องค์ประกอบของผิวโลก

2.สมบัติและบรรยากาศของผิวโลก

3.ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์  โลกและ ดวงจันทร์ที่มีผลต่อปรากฏการณ์ธรรมชาติ

1.อธิบายองค์ประกอบของผิวโลก

2.อธิบายสมบัติและบรรยากาศของผิวโลก

3.อธิบายความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์  โลก  และดวงจันทร์ที่มีผลต่อปรากฏการณ์

1.ความสนใจใฝ่รู้

2.ความมุ่งมั่น  อดทน  รอบคอบ

3.ความมีเหตุผล

 

 

 

 

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

5.ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้  คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง  วางแผนสำรวจ  ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ  อุปกรณ์  วิเคราะห์ข้อมูล และสื่อสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบ

1.การตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้

2.การคาดคะเนคำตอบ

3.การวางแผนและสำรวจ  ตรวจสอบ โดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์

4.การวิเคราะห์ข้อมูลและสื่อสารความรู้  จากผลการสำรวจตรวจสอบ

1.ทักษะการตั้งสมมุติฐาน

2.ทักษะการคาดคะเน

3.ทักษะการสังเกต

4.ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล

1.ความสนใจใฝ่รู้

2.มีเหตุผล

3.ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง

สร้างสรรค์

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

6.การใช้ความรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิตและศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมทำโครงงานหรือชิ้นงานตามที่กำหนดให้หรือตามสนใจ

1.กระบวนการวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต

2.วิธีการทำโครงงาน

3.วิธีการแสวงหาความรู้

1.การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต

2.การทำโครงงานตามหัวข้อที่กำหนดหรือตามความสนใจ

1.ความสนใจใฝ่รู้

2.มีเหตุผล

3.ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง

สร้างสรรค์

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

7.แสดงถึงความสนใจ  มุ่งมั่น 

รับผิดชอบ  รอบคอบ  และซื่อสัตย์ในการแสวงหาความรู้

1.การเสาะแสวงหาความรู้

1.การแสดงออกถึงความสนใจ  มุ่งมั่น  รับผิดชอบ  รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการเสาะแสวงหาความรู้

1.ซื่อสัตย์

2.รับผิดชอบ

3.สนใจใฝ่รู้

4.มุ่งมั่นทำงานให้สำเร็จ

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

8.ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม  ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น

1.ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1.การยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานผู้คิดค้น

1.ตระหนักว่าวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยีมีผลต่อสิ่งที่มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

9.แสดงความซาบซึ้ง  ห่วงใย  แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้  การดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า

1.ความซาบซึ้งห่วงใยและพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้  การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า

1.แสดงออกถึงความซาบซึ้ง  ห่วงใยเกี่ยวกับการใช้  การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า

 

1.ตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ

คุณภาพผู้เรียน

ด้านความรู้

ด้านทักษะ

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

10.ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์  แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

1.วิธีการทำงานร่วมกับผู้อื่น

2.วิธีการพูดแสดงความคิดเห็น

3.ทักษะชีวิต

1.การทำงานร่วมกับผู้อื่น

2.การพูดแสดงความคิดเห็น

1.ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่าง

สร้างสรรค์

2.ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

3.การร่วมแสดงความคิดเห็น

 

                          

 

หมายเลขบันทึก: 306343เขียนเมื่อ 16 ตุลาคม 2009 13:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 พฤษภาคม 2012 22:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ขอบคุณครับ อาจารย์ครับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551ที่จะใช้ปีการศึกษา 2553 ทั่วประเทศ

โรงเรียนอาจารย์เป็นแกนนำคงเสร็จแล้ว ขยายผลต่อด้วยครับ จะได้เตรียมการและไม่เหนื่อยเกินไปครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท