ครูสมใจ
ครู ครูสมใจ ครูพณิชยการ เอื้อความดี

การบันทึกบันชีเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ (หน่วยที่ 7)


การบันทึกบันชีเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ

หน่วยที่ 7  การบันทึกบันชีเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ

1.   การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ 

กิจการที่มีรายรับที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะจะบันทึกรายการปรับปรุงภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่ายของเดือนภาษีนั้นทุกเดือน หรือปรับปรุงรายการเฉพาะเดือนสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีก็ได้ เพื่อให้การรับรู้รายการภาษีธุรกิจเฉพาะของรอบระยะเวลาบัญชีที่จะแสดงในงบกำไรขาดทุนครบถ้วน ส่วนกิจการค้าอสังหาริมทรัพย์ที่จ่ายภาษีธุรกิจเฉพาะพร้อมภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และค่าธรรมเนียมอื่นๆ ในวันโอนกรรมสิทธิ์ ณ สำนักงานที่ดินจะต้องบันทึกรายการภาษีธุรกิจเฉพาะในวันที่โอนกรรมสิทธิ์

ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างการบันทึกรายการเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะของกิจการค้าอสังหาริมทรัพย์ กิจการประกันชีวิต และกิจการโรงรับจำนำ

ตัวอย่าง การบันทึกรายการภาษีธุรกิจเฉพาะของกิจการค้าอสังหาริมทรัพย์

บริษัท สิรภัทรค้าอสังหาริมทรัพย์ จำกัด มีรายการเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะที่เกิดขึ้นในเดือนมิถุนายน 25X9 ซึ่งบริษัทต้องยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีธุรกิจเฉพาะในขณะจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในอัตราร้อยละ 3.3 (รวมภาษีท้องถิ่น)

25X9

มิ.ย.    4 ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/22 เพื่อชำระเงินตามสัญญาซื้อขายที่ดิน 10% ของราคาขายเป็นเงิน 2,000,000 บาท ได้รับเป็นเช็คและนำเช็คฝากธนาคารในวันนี้11  ได้รับเช็คค่าที่ดินจำนวน 13,500,000 บาท และนำฝากธนาคาร ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/23 เป็นการรับเงินตามสัญญาขายที่ดิน ฉบับลงวันที่ 5 ตุลาคม 25X8 ซึ่งได้รับเงินมัดจำไว้แล้ว 10% เป็นเงิน 1,500,000 บาท ที่ดินนี้มีต้นทุนค่าที่ดินและค่าพัฒนาที่ดินเป็นเงิน 12,000,000 บาท ราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ทางราชการกำหนดเท่ากับ 16,000,000 บาท บริษัทจ่ายค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายที่ดินที่กำหนดให้จ่าย 2% ของราคาประเมินทุนทรัพย์รวมเป็นเงิน 320,000 บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 1% เป็นเงิน 160,000 บาท และจ่ายค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3% (รวมภาษีท้องถิ่น) เป็นเงิน 528,000 บาท โดยจ่ายเป็นเช็ค พร้อมยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภ.ธ.40) 25โอนขายที่ดินให้กรรมการบริษัทได้รับเช็คจำนวน 1,200,000 บาท และนำฝากธนาคาร ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/24 ที่ดินนี้มีต้นทุนค่าที่ดินและค่าพัฒนาที่ดินเป็นเงิน 4,000,000 บาท ซึ่งเท่ากับราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ทางราชการกำหนด บริษัทจ่ายค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายที่กำหนดให้จ่าย 2% ของราคาประเมินทุนทรัพย์ 80,000 บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 1% เป็นเงิน 40,000 บาท และจ่ายค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3%  (รวมภาษีบำรุงท้องถิ่น) เป็นเงิน 132,000 บาท โดยจ่ายเช็ค

ให้ทำ : บันทึกรายการข้างต้นในสมุดรายวันทั่วไป

 สมุดรายวันทั่วไป

วัน เดือน ปี 

รายการ 

เลขที่

บัญชี

เดบิต

เครดิต

25X9

มิ.ย.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

25X9

มิ.ย.

 

 

4

 

 

 

11

 

 

 

 

11

 

 

 

11

 

 

 

 

 

 

 

25

 

ธนาคาร เงินมัดจำรับล่วงหน้า

ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/22 เพื่อรับเงินมัดจำล่วงหน้า

 

 

2,000,000

 

 

 

 

13,500,000

1,500,000

 

 

12,000,000

 

 

 

 

320,000

 

160,000

528,000

 

 

 

1,200,000

 

 

-

 

 

 

 

-

-

 

 

-

 

 

 

 

-

 

-

-

 

 

 

-

 

 

2,000,000

 

 

 

 

 

15,000,000

 

 

12,000,000

 

 

 

 

 

 

 

1,008,000

 

 

 

1,200,000

 

 

-

 

 

 

 

 

-

 

 

-

 

 

 

 

 

 

 

-

 

 

 

-

ธนาคาร

เงินมัดจำรับล่วงหน้าขาย(13,500,000+1,500,000)

ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/23 เพื่อรับเช็คค่าที่ดิน

ต้นทุนขาย ที่ดินบันทึกต้นทุนค่าที่ดินและค่าพัฒนาที่ดิน

ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอน

(1,600,000×2% )

ภาษีเงินได้นิติบุคคล/ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า (1,600,000×1%)

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (1,600,000×3.3%)  ธนาคาร

จ่ายค่าธรรมเนียมธนาคาร ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีธุรกิจเฉพาะ

ธนาคาร ขายออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/24 เพื่อรับเช็คค่าที่ดิน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ต้นทุนขายที่ดิน

บันทึกต้นทุนค่าที่ดินและค่าพัฒนาที่ดิน

 

 

4,000,000

 

 

 

 

80,000

 

40,000

132,000

 

-

 

 

 

 

-

 

-

-

 

 

4,000,000

 

 

 

 

 

 

 

252,000

 

 

-

 

 

 

 

 

 

 

-

ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอน

(4,000,000×2%)

ภาษีเงินได้นิติบุคคล/ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า (4,000,000×1%)

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (4,000,000×3.3%)  ธนาคาร

จ่ายค่าธรรมเนียม ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีธุรกิจเฉพาะ

 

ข้อสังเกต

การจำหน่ายจ่ายโอนที่ดินในราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาดหรือราคาประเมินฯ บริษัทต้องนำมูลค่าที่ดินที่ขายต่ำกว่าราคาประเมินทุนทรัพย์จำนวน 2,800,000 บาท (4,000,000 – 1,200,000) มารวมกับกำไรสุทธิทางบัญชี เพื่อให้ได้กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 65 ทวิ (4) ด้วย

ตัวอย่าง การบันทึกรายการภาษีธุรกิจเฉพาะของกิจการประกันชีวิต

บริษัท ลัทธพลประกันชีวิต จำกัด มีรายการเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะที่เกิดขึ้นในเดือนกันยายน 25X7 ดังนี้

25X7

ก.ย. 6 ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 009/30 เพื่อรับเช็คจากบริษัท ลีลาวดี จำกัด และได้นำฝากธนาคารแล้วจำนวน 300ล000 บาท เป็นค่าเบี้ยประกันชีวิตพนักงานของบริษัทลีลาวดี จำกัด ซึ่งเป็นการประกันกลุ่ม10 ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากประจำจากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) 500,000 บาท ซึ่งถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 5,000 บาท ตามที่ปรากฏในสมุดคู่ฝาก30   ปรับปรุงภาษีธุรกิจเฉพาะจากดอกเบี้ยรับต.ค. 15 ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะและชำระภาษี

ให้ทำ : บันทึกรายการข้างต้นในสมุดรายวันทั่วไป

สมุดรายวันทั่วไป

วัน เดือน ปี

รายการ

เลขที่

บัญชี

เดบิต

เครดิต

25X7

ก.ย.

 

 

 

 

 

 

25X7

ก.ย.

 

 

 

 

 

6

 

 

 

10

 

 

10

 

 

 

30

 

 

 

 

 

ธนาคาร

             รายได้เบี้ยประกันชีวิต

ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 009/30 ให้บริษัท ลีลาวดี จำกัด

 

 

300,000

 

 

 

500,000

 

 

5,000

 

 

 

13,750

 

-

 

 

 

-

 

 

-

 

 

 

-

 

 

300,000

 

 

 

500,000

 

 

5,000

 

 

 

13,750

 

 

-

 

 

 

-

 

 

-

 

 

 

-

เงินฝากประจำ

             ดอกเบี้ยรับ

ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากประจำ

ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า

             เงินฝากประจำ

ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย

 

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (5,000×2.75%)

             ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย

ปรับปรุงภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่ายจากดอกเบี้ยรับ

ต.ค.

15

ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย

             เงินสด

ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะและชำระภาษี

 

 

13,750

 

-

 

 

13,750

 

 

-

 

ตัวอย่าง การบันทึกรายการภาษีธุรกิจเฉพาะของกิจการโรงรับจำนำ

โรงรับจำนำที่ใช้เกณฑ์สิทธิในการรวบรวมรายรับเพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้รวบรวมรายรับที่ต้องเสียภาษีจากบัญชีรายได้ที่เป็นฐานภาษี ถ้าโรงรับจำนำใช้เกณฑ์เงินสดในการรวบรวมรายรับเพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้รวบรวมรายรับจากบัญชีเงินสดหรือบัญชีเงินฝากธนาคาร แล้วแต่กรณี

                โรงรับจำนำบรรยง สรุปรายการรับ – จ่ายเงินจากสมุดบัญชีเงินสด ดังนี้

สมุดรายรับ – จ่ายเงินเดือนมิถุนายน 25X7

รายรับ :

 

 

 

 

 

 

ดอกเบี้ยจากการรับจำนำ

200,000

 

 

 

 

ดอกเบี้ยจากเงินฝากธนาคาร

5,000

 

 

 

 

รายได้จากการขายของจำนำหลุด

44,000

 

 

 

 

ค่าธรรมเนียมชำระดอกเบี้ยล่าช้า

5,000

 

 

 

 

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

500

 

 

254,500

รายจ่าย :

 

 

 

 

 

 

ซื้ออุปกรณ์สำนักงาน

50,000

 

 

 

 

ค่าเช่าอาคาร

15,000

 

 

 

 

ดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

50,000

 

 

 

 

นำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

2,500

 

 

 

 

เงินเดือนพนักงาน

50,000

 

 

 

 

ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า และค่าโทรศัพท์

7,500

 

 

 

 

ภาษีธุรกิจเฉพาะเดือน พ.ค. 25X7

22,000

 

 

196,500

รายรับสูงกว่ารายจ่าย

 

 

 

58,000

 

 

 

 

 

 

 

ให้ทำ : 1. คำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ

2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะที่เกิดขึ้นในเดือนมิถุนายน 25X7

คำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ

ดอกเบี้ยจากการรับจำนำ

200,000

บาท

รายได้จากการขายของจำนำหลุด

44,000

บาท

ค่าธรรมเนียมชำระดอกเบี้ยล่าช้า

5,000

บาท

รวม

249,000

บาท

                        ภาษีธุรกิจเฉพาะ (249,000×2.75%) = 6,847.50 บาท

สมุดรายวันทั่วไป

วัน เดือน ปี

รายการ

เลขที่

บัญชี

เดบิต

เครดิต

25X7

มิ.ย.

 

15

 

 

 

30

 

ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย

             เงินสด

ยื่นแบบ ภ.ธ. 40 พร้อมชำระภาษีของเดือน พ.ค. 25X7

 

 

22,000

 

 

 

6,847

 

-

 

 

 

50

 

 

22,000

 

 

 

6,847

 

 

-

 

 

 

50

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

              ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย

ปรับปรุงภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่ายของเดือน มิ.ย. 25X7

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.   แบบพิมพ์ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภ.ธ. 01   แบบคำขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการใช้ยื่นขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ณ ที่ว่าการอำเภอท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ ถ้าผู้ประกอบการประกอบกิจการหลายแห่งให้ยื่น ณ ที่ว่าการอำเภอท้องที่ที่สถานที่ประกอบการที่เป็นสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เริ่มประกอบกิจการ 

ภ.ธ. 02 แบบคำขอยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะรวมกัน ผู้ประกอบการใช้ยื่นเพื่อขอยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะรวมกัน

ภ.ธ. 04 แบบคำขอรับใบแทนใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการใช้ยื่นขอรับใบแทนใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ที่สูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคัญ) ณ สถานที่ที่ได้รับจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะไว้ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ทราบถึงการสูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุด

ภ.ธ. 09 แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการใช้ยื่นแจ้งการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะในกรณีต่างๆ ณ สถานที่และภายในกำหนดเวลาเช่นเดียวกับการแจ้งการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ. 09

ภ.ธ. 20 ใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ กรมสรรพากรออกให้ผู้ประกอบการซึ่งยื่นขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภ.ธ. 40   แบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการใช้ยื่นแสดงรายการและชำระภาษี โดยใช้ยื่นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ณ ที่ว่าการอำเภอท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ ถ้าผู้มีหน้าที่เสียภาษีมีสถานประกอบการหลายแห่งให้แยกยื่นและชำระภาษีเป็นรายสถานประกอบการ ทั้งนี้เว้นแต่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมีความประสงค์จะยื่นแบบฯ และชำระภาษีรวมกันก็ทำได้ โดยต้องขออนุมัติต่ออธิบดีกรมสรรพากรตามแบบ ภ.ธ. 02 ก่อน และเมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรแล้วจึงจะยื่นแบบฯ และชำระภาษีรวมกันก็ได้

หมายเลขบันทึก: 300456เขียนเมื่อ 24 กันยายน 2009 16:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 19:20 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

การบันทึกบันชีเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ (หน่วยที่ 7)

การบันทึกบันชีเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ

หน่วยที่ 7  การบันทึกบันชีเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ

1.   การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ 

กิจการที่มีรายรับที่ต้องเสียภาษีธุรกิจ เฉพาะจะบันทึกรายการปรับปรุงภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่ายของเดือนภาษีนั้นทุก เดือน หรือปรับปรุงรายการเฉพาะเดือนสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีก็ได้ เพื่อให้การรับรู้รายการภาษีธุรกิจเฉพาะของรอบระยะเวลาบัญชีที่จะแสดงในงบ กำไรขาดทุนครบถ้วน ส่วนกิจการค้าอสังหาริมทรัพย์ที่จ่ายภาษีธุรกิจเฉพาะพร้อมภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และค่าธรรมเนียมอื่นๆ ในวันโอนกรรมสิทธิ์ ณ สำนักงานที่ดินจะต้องบันทึกรายการภาษีธุรกิจเฉพาะในวันที่โอนกรรมสิทธิ์

ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างการบันทึกรายการเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะของกิจการค้าอสังหาริมทรัพย์ กิจการประกันชีวิต และกิจการโรงรับจำนำ

ตัวอย่าง การบันทึกรายการภาษีธุรกิจเฉพาะของกิจการค้าอสังหาริมทรัพย์

บริษัท สิรภัทรค้าอสังหาริมทรัพย์ จำกัด มีรายการเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะที่เกิดขึ้นในเดือนมิถุนายน 25X9 ซึ่งบริษัทต้องยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีธุรกิจเฉพาะในขณะจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมในอัตราร้อยละ 3.3 (รวมภาษีท้องถิ่น)

25X9

มิ.ย.    4 ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/22 เพื่อชำระเงินตามสัญญาซื้อขายที่ดิน 10% ของราคาขายเป็นเงิน 2,000,000 บาท ได้รับเป็นเช็คและนำเช็คฝากธนาคารในวันนี้11  ได้รับเช็คค่าที่ดินจำนวน 13,500,000 บาท และนำฝากธนาคาร ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/23 เป็นการรับเงินตามสัญญาขายที่ดิน ฉบับลงวันที่ 5 ตุลาคม 25X8 ซึ่งได้รับเงินมัดจำไว้แล้ว 10% เป็นเงิน 1,500,000 บาท ที่ดินนี้มีต้นทุนค่าที่ดินและค่าพัฒนาที่ดินเป็นเงิน 12,000,000 บาท ราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ทางราชการกำหนดเท่ากับ 16,000,000 บาท บริษัทจ่ายค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายที่ดินที่กำหนดให้ จ่าย 2% ของราคาประเมินทุนทรัพย์รวมเป็นเงิน 320,000 บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 1% เป็นเงิน 160,000 บาท และจ่ายค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3% (รวมภาษีท้องถิ่น) เป็นเงิน 528,000 บาท โดยจ่ายเป็นเช็ค พร้อมยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภ.ธ.40) 25โอนขายที่ดินให้กรรมการบริษัทได้รับเช็คจำนวน 1,200,000 บาท และนำฝากธนาคาร ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/24 ที่ดินนี้มีต้นทุนค่าที่ดินและค่าพัฒนาที่ดินเป็นเงิน 4,000,000 บาท ซึ่งเท่ากับราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ทางราชการกำหนด บริษัทจ่ายค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายที่กำหนดให้จ่าย 2% ของราคาประเมินทุนทรัพย์ 80,000 บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 1% เป็นเงิน 40,000 บาท และจ่ายค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3%  (รวมภาษีบำรุงท้องถิ่น) เป็นเงิน 132,000 บาท โดยจ่ายเช็ค

ให้ทำ : บันทึกรายการข้างต้นในสมุดรายวันทั่วไป

 สมุดรายวันทั่วไป

วัน เดือน ปี 

รายการ 

เลขที่ 

บัญชี 

เดบิต

เครดิต

25X9

มิ.ย.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

25X9

มิ.ย.

 

 

4

 

 

 

11

 

 

 

 

11

 

 

 

11

 

 

 

 

 

 

 

25

 

ธนาคาร เงินมัดจำรับล่วงหน้า

ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/22 เพื่อรับเงินมัดจำล่วงหน้า

 

 

2,000,000

 

 

 

 

13,500,000

1,500,000

 

 

12,000,000

 

 

 

 

320,000

 

160,000

528,000

 

 

 

1,200,000

 

 

-

 

 

 

 

-

-

 

 

-

 

 

 

 

-

 

-

-

 

 

 

-

 

 

2,000,000

 

 

 

 

 

15,000,000

 

 

12,000,000

 

 

 

 

 

 

 

1,008,000

 

 

 

1,200,000

 

 

-

 

 

 

 

 

-

 

 

-

 

 

 

 

 

 

 

-

 

 

 

-

ธนาคาร

เงินมัดจำรับล่วงหน้าขาย(13,500,000+1,500,000)

ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/23 เพื่อรับเช็คค่าที่ดิน

ต้นทุนขาย ที่ดินบันทึกต้นทุนค่าที่ดินและค่าพัฒนาที่ดิน

ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอน

(1,600,000×2% )

ภาษีเงินได้นิติบุคคล/ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า (1,600,000×1%)

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (1,600,000×3.3%)  ธนาคาร

จ่ายค่าธรรมเนียมธนาคาร ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีธุรกิจเฉพาะ

ธนาคาร ขายออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 111/24 เพื่อรับเช็คค่าที่ดิน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ต้นทุนขายที่ดิน

บันทึกต้นทุนค่าที่ดินและค่าพัฒนาที่ดิน

 

 

4,000,000

 

 

 

 

80,000

 

40,000

132,000

 

-

 

 

 

 

-

 

-

-

 

 

4,000,000

 

 

 

 

 

 

 

252,000

 

 

-

 

 

 

 

 

 

 

-

ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอน

(4,000,000×2%)

ภาษีเงินได้นิติบุคคล/ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า (4,000,000×1%)

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (4,000,000×3.3%)  ธนาคาร

จ่ายค่าธรรมเนียม ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีธุรกิจเฉพาะ

 

ข้อสังเกต

การจำหน่ายจ่ายโอนที่ดินในราคาที่ต่ำกว่า ราคาตลาดหรือราคาประเมินฯ บริษัทต้องนำมูลค่าที่ดินที่ขายต่ำกว่าราคาประเมินทุนทรัพย์จำนวน 2,800,000 บาท (4,000,000 – 1,200,000) มารวมกับกำไรสุทธิทางบัญชี เพื่อให้ได้กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณภาษีเงินได้ นิติบุคคลตามมาตรา 65 ทวิ (4) ด้วย

ตัวอย่าง การบันทึกรายการภาษีธุรกิจเฉพาะของกิจการประกันชีวิต

บริษัท ลัทธพลประกันชีวิต จำกัด มีรายการเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะที่เกิดขึ้นในเดือนกันยายน 25X7 ดังนี้

25X7

ก.ย. 6 ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 009/30 เพื่อรับเช็คจากบริษัท ลีลาวดี จำกัด และได้นำฝากธนาคารแล้วจำนวน 300ล000 บาท เป็นค่าเบี้ยประกันชีวิตพนักงานของบริษัทลีลาวดี จำกัด ซึ่งเป็นการประกันกลุ่ม10 ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากประจำจากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) 500,000 บาท ซึ่งถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 5,000 บาท ตามที่ปรากฏในสมุดคู่ฝาก30   ปรับปรุงภาษีธุรกิจเฉพาะจากดอกเบี้ยรับต .ค. 15 ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะและชำระภาษี

ให้ทำ : บันทึกรายการข้างต้นในสมุดรายวันทั่วไป

สมุดรายวันทั่วไป

วัน เดือน ปี

รายการ

เลขที่

บัญชี

เดบิต

เครดิต

25X7

ก.ย.

 

 

 

 

 

 

25X7

ก.ย.

 

 

 

 

 

6

 

 

 

10

 

 

10

 

 

 

30

 

 

 

 

 

ธนาคาร

             รายได้เบี้ยประกันชีวิต

ออกใบเสร็จรับเงินเลขที่ 009/30 ให้บริษัท ลีลาวดี จำกัด

 

 

300,000

 

 

 

500,000

 

 

5,000

 

 

 

13,750

 

-

 

 

 

-

 

 

-

 

 

 

-

 

 

300,000

 

 

 

500,000

 

 

5,000

 

 

 

13,750

 

 

-

 

 

 

-

 

 

-

 

 

 

-

เงินฝากประจำ

             ดอกเบี้ยรับ

ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากประจำ

ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า

             เงินฝากประจำ

ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย

 

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (5,000×2.75%)

             ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย

ปรับปรุงภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่ายจากดอกเบี้ยรับ

ต.ค.

15

ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย

             เงินสด

ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะและชำระภาษี

 

 

13,750

 

-

 

 

13,750

 

 

-

 

ตัวอย่าง การบันทึกรายการภาษีธุรกิจเฉพาะของกิจการโรงรับจำนำ

โรงรับจำนำที่ใช้เกณฑ์สิทธิในการรวบรวมราย รับเพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้รวบรวมรายรับที่ต้องเสียภาษีจากบัญชีรายได้ที่เป็นฐานภาษี ถ้าโรงรับจำนำใช้เกณฑ์เงินสดในการรวบรวมรายรับเพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้รวบรวมรายรับจากบัญชีเงินสดหรือบัญชีเงินฝากธนาคาร แล้วแต่กรณี

                โรงรับจำนำบรรยง สรุปรายการรับ – จ่ายเงินจากสมุดบัญชีเงินสด ดังนี้

สมุดรายรับ – จ่ายเงินเดือนมิถุนายน 25X7

รายรับ :

 

 

 

 

 

 

ดอกเบี้ยจากการรับจำนำ

200,000

 

 

 

 

ดอกเบี้ยจากเงินฝากธนาคาร

5,000

 

 

 

 

รายได้จากการขายของจำนำหลุด

44,000

 

 

 

 

ค่าธรรมเนียมชำระดอกเบี้ยล่าช้า

5,000

 

 

 

 

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

500

 

 

254,500

รายจ่าย :

 

 

 

 

 

 

ซื้ออุปกรณ์สำนักงาน

50,000

 

 

 

 

ค่าเช่าอาคาร

15,000

 

 

 

 

ดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

50,000

 

 

 

 

นำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

2,500

 

 

 

 

เงินเดือนพนักงาน

50,000

 

 

 

 

ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า และค่าโทรศัพท์

7,500

 

 

 

 

ภาษีธุรกิจเฉพาะเดือน พ.ค. 25X7

22,000

 

 

196,500

รายรับสูงกว่ารายจ่าย

 

 

 

58,000

 

 

 

 

 

 

 

ให้ทำ : 1. คำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ

2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะที่เกิดขึ้นในเดือนมิถุนายน 25X7

คำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ

ดอกเบี้ยจากการรับจำนำ

200,000

บาท

รายได้จากการขายของจำนำหลุด

44,000

บาท

ค่าธรรมเนียมชำระดอกเบี้ยล่าช้า

5,000

บาท

รวม

249,000

บาท

                        ภาษีธุรกิจเฉพาะ (249,000×2.75%) = 6,847.50 บาท

สมุดรายวันทั่วไป

วัน เดือน ปี

รายการ

เลขที่

บัญชี

เดบิต

เครดิต

25X7

มิ.ย.

 

15

 

 

 

30

 

ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย

             เงินสด

ยื่นแบบ ภ.ธ. 40 พร้อมชำระภาษีของเดือน พ.ค. 25X7

 

 

22,000

 

 

 

6,847

 

-

 

 

 

50

 

 

22,000

 

 

 

6,847

 

 

-

 

 

 

50

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

              ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย

ปรับปรุงภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่ายของเดือน มิ.ย. 25X7

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.   แบบพิมพ์ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภ.ธ. 01   แบบคำขอจด ทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการใช้ยื่นขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ณ ที่ว่าการอำเภอท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ ถ้าผู้ประกอบการประกอบกิจการหลายแห่งให้ยื่น ณ ที่ว่าการอำเภอท้องที่ที่สถานที่ประกอบการที่เป็นสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เริ่มประกอบกิจการ 

ภ.ธ. 02 แบบคำขอยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะรวมกัน ผู้ประกอบการใช้ยื่นเพื่อขอยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะรวมกัน

ภ.ธ. 04 แบบคำขอรับใบแทน ใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการใช้ยื่นขอรับใบแทนใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ที่สูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคัญ) ณ สถานที่ที่ได้รับจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะไว้ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ทราบถึงการสูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุด

ภ.ธ. 09 แบบแจ้งการ เปลี่ยนแปลงภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการใช้ยื่นแจ้งการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะในกรณีต่างๆ ณ สถานที่และภายในกำหนดเวลาเช่นเดียวกับการแจ้งการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ. 09

ภ.ธ. 20 ใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ กรมสรรพากรออกให้ผู้ประกอบการซึ่งยื่นขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภ.ธ. 40   แบบแสดงรายการ ภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการใช้ยื่นแสดงรายการและชำระภาษี โดยใช้ยื่นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ณ ที่ว่าการอำเภอท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ ถ้าผู้มีหน้าที่เสียภาษีมีสถานประกอบการหลายแห่งให้แยกยื่นและชำระภาษีเป็น รายสถานประกอบการ ทั้งนี้เว้นแต่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมีความประสงค์จะยื่นแบบฯ และชำระภาษีรวมกันก็ทำได้ โดยต้องขออนุมัติต่ออธิบดีกรมสรรพากรตามแบบ ภ.ธ. 02 ก่อน และเมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรแล้วจึงจะยื่นแบบฯ และชำระภาษีรวมกันก็ได้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท