Public health is the resultant of many forces.


Public health is the resultant of many forces.

2008-2009 ไม่มี ICHD แต่มี (MPH - HSMP) แทน

http://www.itg.be/internet/courses0708/cursus_info/1a%20MPH%202007-2008EN.pdf

Master in Public Health -Health system ManageMent & Policy
(MPH - HSMP)
Formerly “International Course in Health Development” (ICHD)

General inFormation
Public health is the resultant of many forces. At the department of public health (ITM- Antwerp) we have specialised on the role health care providers can play in promoting individuals’ and populations’ health. Improving the organisation and management of health services and understanding the role of policies and politics in health systems’ development are the main focuses of our departments’ work and this course.


“System” is understood as the grounds on which all players (professionals, government institutions, public and private oriented non-governmental organisations, the public …) that have a stake in the provision of health care act, as well as the relations and agreements they develop. Whether this ensemble of actors evolves towards better population’s health depends upon the inner-system’s strengths and weaknesses and the opportunities and threads from outside. A system however should be capable of continuously adapting to the changing environment. New policies like liberalisation and decentralisation, emerging health problems like obesity, specific challenges like generalising treatment for AIDS patients are but three examples of current changes.

Blog ICHD
http://gotoknow.org/blog/nopadol/199890

Blog General Practice
http://somed1.tripod.com/gp/

 

Link to: http://gotoknow.org/blog/nopadol
Link to: http://gotoknow.org/blog/epistat

คำสำคัญ (Tags): #flhs#ichd#public health
หมายเลขบันทึก: 265581เขียนเมื่อ 4 มิถุนายน 2009 06:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 พฤษภาคม 2012 11:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

สวัสดียามเช้าครับ

บ้างก็บอกฉันทำวิจัย ทำเสร็จอล้วเธอก็เอาไปใช้ซิ

ใช้เวลาวิจัยกว่า 10 ปี ไม่ใช่หน้าที่ฉันที่จะไปทำต่อ

ฉันจัดสรรเงิน ค่ารักษา ฉันก็จัดให้แล้ว

ค่าส่งเสริมป้องกันฉันก็จัดให้ เงินเดือนก็จัดให้

แต่การเรียนการสอน แพทย์และ Health teem

เรื่อง โครงสร้างสถานบริการฉันก็ไม่เกี่ยว

ถ้ามีอยู่แล้วทำดีให้เงินมาก

ทำส่งเสริมป้องกัน้อยให้เงินน้อย

ก็ OK

แต่ถ้ายังไม่มี แพทย์ ยังไม่มีพยาบาล

ยังไม่มี Health team

ยังไม่มี Output ที่จะส่ง Claim ล่ะ

แล้วจะต้องแพทย์ที่ PCU ให้เหมือน USA, Europe Japan Australia

หรือเปล่าล่ะ หรือว่าไม่ต้องมี

อีก 10 ปี ก็ยังไม่ต้องมี อีก 20 ปี ก็ยังไม่ต้องมี ใช่หรือไม่

บางกองทุน ก็มีแต่ค่ารักษา ลืมคิดถึง ค่าใช้จ่ายในการ ส่งเสริม ป้องกัน

บางกองทุน เตรียมไว้ สำหรับรักษาและฟื้นฟูเท่านั้น ส่งเสริมป้องกันไม่เกี่ยว

Blog KM. Prof. Vicharn Panich

คุณหมอสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ หัวหน้าทีมศึกษาสถานภาพของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในประเทศไทย ได้ให้นิยามของรับบบริการสุขภาพปฐมภูมิในบริบทไทย ไว้ดังนี้ “เครือข่ายบริการสุขภาพที่ประกอบด้วย สถานพยาบาลที่มีแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป หรือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ประจำในการให้บริการ เช่น โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก หรือศูนย์แพทย์ชุมชน และมาสถานีอนามัย หรือหน่วยบริการขนาดเล็ก จำนวนหนึ่ง ที่มิได้มี แพทย์ประจำ เป็นลูกข่ายในการให้บริการ โดยมีพื้นที่และจำนวนประชากรที่ต้องดูแล ชัดเจนกลุ่มหนึ่ง เช่น ๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๐๐๐ คน และมีการสนับสนุนเชื่อมโยงกัน โดยอาศัยระบบข้อมูล การส่งต่อ และการสนับสนุนด้านความรู้และทรัพยากร”

http://gotoknow.org/blog/thaikm/219232 13 ตค.2551

 

 

http://www.med.nu.ac.th/2008/journaldata/08_วารสารใต้ร่มเสลา.pdf

วารสารใต่ร่มเสลา (เสลา อ่านว่าสะ เหลา) - มองให้ออกถึงวัตถุประสงค์ ว่า เป็น Need หรือ Want กันแน่? - มองให้เป็นของทั้ง Health Science Cluster โดยเน้น Strategies ให้มากขึ้น สร้าง Trust ก่อนจึงสร้าง Benefit ร่วม - หา Key Player for Research on Services ซึ่งมาจากตัวแทนของระบบสุขภาพ ทั้งของกระทรวงสาธารณสุข สปสช. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฯลฯ แล้วสร้าง Forum ที่มีประโยชน์ เพื่อชวนกันทำ ร่วมกันสร้าง ให้เกิดผลงานร่วมกัน - Health Need จำเป็นต้องกำหนดให้ชัดว่า สำหรับกลุ่มเป้าหมายใด? (Lower Northern Region? ซึ่งเป็น Area Development ที่มีคณะแพทย์ฯ เป็นส่วนหนึ่ง) ประเภทการให้บริการคืออะไร? (Type of Services) Gap ที่โรงพยาบาลอื่นยังไม่มีคืออะไร? Generate Demand ในส่วนที่เรามี Facilities อยู่แล้วให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด - การวางแผนต้องไม่ใช่แค่ Physical Plan แต่ต้องคำนึงถึงการสร้างคนเป็นหลักด้วย - การ Run รพ. เกี่ยวข้องกับ Financial Survival หากจำกัดขนาดการให้บริการ ต้องมีแหล่งเงินสนับสนุนจากที่อื่น ใครจะ Support หากเป็นบริษัทเอกชน (บริษัทยา) จะไม่ให้เกิด Violation of Medical Ethics ได้อย่างไร? ใช้งานวิจัยเป็น Income Source ซึ่งเป็น Very Inconventional Management ได้หรือไม่ อย่างไร? และต้องระมัดระวังมาก เพราะในที่สุดก็จะกลายไปเป็น Professionalism คือการบริการตามวิชาชีพเหมือนเดิมอีก - ทำใจให้ได้ว่า " อะไรก็ตามที่เป็น Innovative Approach ต้องยินดีรับ Complaint (Painful) "

แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาคณะแพทยศาสตร์และโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร อันเกิดจากบุคคลสำคัญหลายท่าน ที่ได้ให้ความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ยิ่งในที่ประชุม ซึ่งประกอบด้วย ศ.ดร.สุจินต์ จินายน อธิการบดีและที่ปรึกษา ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ประธานคณะกรรมการ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ศ.(พิเศษ)ทญ.ดร.วิสาขะ ลิ่มวงศ์ ศ.นพ.ดร.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย(คณบดี) และ นพ.ดร.ประวิทย์ เตติวัฒน์

สามารถรวบรวมเป็นข้อสรุปโดยย่อ ได้ดังนี้... 1. พื้นฐานความเข้าใจต่อความเป็นมาของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร...ในช่วงแรกที่วางแผนสร้างโรงพยาบาล ต้องการโรงพยาบาลขนาดไม่เกิน 400 เตียง และได้วางกรอบความร่วมมือกับโรงพยาบาลพุทธชินราช เนื่องจากมีห้องพิเศษว่างจำนวนมาก และสามารถให้แพทย์ตามมาดูแลผู้ป่วยได้ ทั้งนี้เพื่อให้ทั้ง 2 โรงพยาบาลทำงานไปด้วยกัน โดยมหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ให้ความสำคัญทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านสุขภาพพลานามัย ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคมในมนุษย์ และด้านการศึกษา โดยบทบาทของมหาวิทยาลัย นเรศวร ที่เกี่ยวข้องกับทิศทางโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรจะมุ่งเน้น 2 เรื่องหลักๆ คือ การสร้างคนทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข และการสร้าง องค์ความรู้จากงานวิจัย ทั้งนี้มหาวิทยาลัยนเรศวร จะไม่ขยายเตียงหรือเพิ่มขนาดการให้บริการของโรงพยาบาล ไปแข่งกับโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุขโดยเด็ดขาด

http://www.moph.go.th/show_hotnew.php?idHot_new=25508

สธ. ยกเครื่องสถานีอนามัย เป็นรพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล เริ่มตั้งแต่ปีนี้ 2,000 แห่ง สาธารณสุข ผลักดันนโยบายการส่งเสริมสุขภาพ ให้คนไทยมีสุขภาพดี แข็งแรง อย่างเป็นรูปธรรม

โดยพัฒนายกระดับสถานีอนามัย 2,000 แห่ง ให้เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปีนี้ 1,000 แห่งในทุกอำเภอทั่วประเทศ ในปี 2553 เพิ่มอีก 1,000 แห่ง

นำระบบรักษาผู้ป่วยทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ตออนไลน์มาใช้

แพทย์โรงพยาบาลอำเภอ สามารถตรวจวินิจฉัยพูดคุยกับคนไข้ได้ ให้การรักษามาตรฐานเดียวกับโรงพยาบาลใหญ่

ในปี 2552-2553 ตั้งเป้าดำเนินการ 2,000 แห่ง โดยกระทรวงสาธารณสุขจัดสรรงบประมาณให้แห่งละ 1 ล้านบาท และจากสป.สช.อีกแห่งละ 2 แสนบาท

เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น และติดตั้งระบบอินเตอร์เน็ตออนไลน์ ให้พยาบาลที่ประจำสถานีอนามัยและผู้ป่วย ปรึกษาพูดคุย ซักถามอาการและเห็นหน้าผู้ป่วยให้การรักษาทางอินเตอร์เน็ต กับแพทย์ที่โรงพยาบาลอำเภอโดยตรง รักษามาตรฐานเดียวกับโรงพยาบาลใหญ่ ซึ่งบางโรคผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องเดินทางไปรักษาในโรงพยาบาล จะช่วยลดความแออัดที่โรงพยาบาลใหญ่ และประหยัดค่าเดินทางของประชาชนด้วย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท