การออกเสียงของพระไตรปิำฎกอักษรโรมัน


เสียงปาฬิของอักษรโรมัน

จากการที่ได้เผยแผ่ข้อมูลเกี่ยวกับพระไตรปิฎกมาพอสมควร มีหลายคนสงสัยเรื่องของความเป็นมา

เกี่ยวกับการออกเสียง

เกี่ยวกับการเผยแผ่พระไตรปิฎกไปยังนานาประเทศทั่วโลกนั้น

วันนี้ก็ได้สรุปคร่าวๆมาให้ได้ทราบกัน เรื่องการเผยแผ่พระไตรปิฎกฉบับอักษรโรมันนี้ และในครั้งหน้า จะนำเรื่องของการออกเสียงมาให้ได้ศึกษากัน หากมีข้อสงสัยก็ถามมาได้

 

ข้อมูลหนังสือพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุด 40 เล่ม และเทคโนโลยีใหม่ในการผลิต
(ประเทศต้นกำเนิดของเทคโนโลยีและการผลิตในวงเล็บ)

 

 

1

ชื่อฉบับ   ภาษาบาฬี
            ภาษาไทย
            ภาษาอังกฤษ

Mahāsaṅgīti Tipiṭaka Buddhavasse 2500 (B.E. 1957)
พระไตรปิฎกบาฬี มหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500 อักษรโรมัน พ.ศ. 2548
The Buddhist Era 2500 Great International Council Pāḷi Tipiṭaka
2 ภาษา / อักษร ภาษาบาฬี (India) / พิมพ์อักษรโรมัน พ.ศ. 2548 (Italy & Europe)
3 ลักษณะพิเศษของการจัดพิมพ์ พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับสากล อักษรโรมัน พิมพ์ชุดสมบูรณ์ชุดแรกของโลก (Thailand)
4 ข้อมูล มหาสังคายนานานาชาติ พ.ศ. 2500-06 เล่ม 1-38 / พ.ศ. 2497-99 เล่ม 39-40 (Myanmar)
5 การจัดพิมพ์ & ประดิษฐานเป็นปฐมฤกษ์ 6 มีนาคม พ.ศ. 2548 ทำเนียบประธานาธิบดีแห่งศรีลังกา (Sri Lanka)
15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 ศาลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (Thailand)
13 กันยายน พ.ศ. 2548 หอสมุดคาโรลีนา เรดีวีว่า มหาวิทยาลัยอุปซาลา (Sweden)
6 ผู้ดำเนินโครงการและจัดพิมพ์ กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ (Thailand)
7 เทคโนโลยีที่นำมาใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ / คอมพิวเตอร์ (International)
8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี จัดการฐานข้อมูล เรียงพิมพ์ จัดพิมพ์ เข้าเล่ม (Thailand)
9 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ Sony (Japan), Hewlett-Packard (USA)
10 มาตรฐานเทคโนโลยี W3C Interoperable Technology (International)
11 ภาษาอิเล็กทรอนิกส์ ระบบมาตรฐานแบบเปิด eXtensible Markup Language (XML) (International)
12 ระบบบริหารฐานข้อมูล มาตรฐานภาษาโครงสร้างการสอบค้นข้อมูล MySQL (Sweden), PostgreSQL (USA)
13 ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ ระบบเปิดรหัสต้นฉบับ Open-Source Linux (Finland)
14 ระบบจัดการข้อมูล ระบบโปรแกรม PERL (USA) / JAVA (USA)
15 แบบอักษรพิมพ์ & เทคโนโลยีการเรียงพิมพ์ CMR Font (USA) ระบบเปิดรหัสต้นฉบับ Open-Source LaTeX (USA)
16 เครื่องพิมพ์ & หมึกพิมพ์ ระบบดิจิตอลความเร็วสูง O’ce (Netherlands) / หมึกพิมพ์ (Netherlands)
ระบบดิจิตอลความเร็วสูง Fuji Xerox (Japan) (USA) / หมึกพิมพ์ (Japan) (USA)
17 เทคโนโลยีภาพถ่ายและการพิมพ์ กล้อง SINAR P2 (Switzerland) / เครื่องพิมพ์ Idigo HP 1000 (USA)
18 กระดาษพิมพ์ กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Drewsen Security Paper (Germany)
19 วัสดุการพิมพ์ ปกแข็ง (USA) / กระดาษโครง (France) / ปัดสันฝุ่นสีเงิน (Germany) / โบว์ (Thailand)
20 เทคโนโลยีการเผยแผ่ในอนาคต ระบบการมีส่วนร่วมผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต Tipiṭaka WebService (International)
หมายเลขบันทึก: 252219เขียนเมื่อ 31 มีนาคม 2009 15:23 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 พฤษภาคม 2012 10:19 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เจริญพร โยมDhamma

พระไตรปิฎกก็ต้องให้ทันยุคสมัยโลกาภิวัตน์ด้วยเช่นกัน

เจริญพร

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท