จงวิวัฒน์
นาย จงวิวัฒน์ เช็ง ปรางค์ศรีทอง

การพัฒนา 4 รูปแบบโรงเรียนขนาดเล็กสู่การกระจายอำนาจ


การพัฒนา 4 รูปแบบโรงเรียนขนาดเล็กสู่การกระจายอำนาจ

การพัฒนา 4 รูปแบบโรงเรียนขนาดเล็กสู่การกระจายอำนาจ

การพัฒนา  4 รูปแบบโรงเรียนขนาดเล็กสู่การกระจายอำนาจแบบศูนย์เครือข่าย

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 1

------------------

ที่มา           การที่กระทรวงศึกษาธิการ  ได้กำหนดนโยบายยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก  ในปี  พ.ศ. 2547  โดยให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่าง ๆ  ได้คิดนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้นเรียน  ครูผู้สอนไม่ครบสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  2544 ขาดแคลนสื่อการเรียนการสอน และขาดแคลนครูทำงานทั้ง 4 ด้าน ดังนั้นสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1 จึงได้คิดนวัตกรรมการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้น ได้ได้ทำหลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้นขี้น  จำนวน 10 หน่วยการเรียนรู้  ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้น  และได้มีการปรับปรุงหลักสูตรและกลยุทธ์ต่าง ๆ  ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขี้นตลอดเวลา และในปีการศึกษา 2548 2549  ได้กำหนดรูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก  4 รูปแบบ  ดังนี้

1.      รูปแบบ  D   เป็นโรงเรียนมีครูประจำชั้น ป. 1 - 6  โดยใช้หลักสูตรอิง

มาตรฐานช่วงชั้นจำนวน  22  โรงเรียน

                      2.  รูปแบบ  B  เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบรวมช่วงชั้น  โดยใช้หลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้น และหลักสูตรอิงมาตรบานช่วงชั้น  จำนวน   42 โรงเรียน

                      3.  รูปแบบ  F - 1  ใช้หลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้น  จำนวน 10  โรงเรียน

                      4. รูปแบบ  F – 2   ใช้หลักสูตรไทยคม  จำนวน 14  โรงเรียน

จากการประเมินผลการใช้รูปแบบการพัฒนาการเรียนการสอน  ทั้ง 4 รูปแบบ  ปรากฏว่ามีจุดเด่นและจุดด้อย ทั้ง 4 รูปแบบ  โดยในปีการศึกษา 2549  ได้ของบประมาณจาก อบจ.กำแพงเพชร  จัดทำบทเรียนสำเร็จรูป จำนวน  3  สาระการเรียนรู้คือภาษาไทย คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  เพื่อใช้ส่งเสริมการเรียนการสอน สาระหลักและเป็นปัญหาในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไป

                       โดยจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน .ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2549  ภาพรวมมีผลสัมฤทธิ์อยุ่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจและสูงกว่าโรงเรียนขนาดกลางและใหญ่

                        และสำหรับในปีการศึกษา  2550  จากการวิเคราะห์  ( SWOT )  การยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก  ตั้งแต่ปี 2547 2549  โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1  ได้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับครูไม่ครบชั้นเรียนและสาระการเรียนรู้ เพื่อเป็นการบรรเทาได้พอสมควรแล้ว  แต่โรงเรียนขนาดเล็ก ในเรื่องครูไม่ประจำห้องเรียนก็ยังเกิดขึ้น เนื่องจากการบริหารงานทั้ง 4 ด้านของโรงเรียนยังต้องอาศัยครูผู้สอนช่วยดำเนินการจึงทำให้ครูไม่สามารถประจำห้องเรียนได้ 100 เปอร์เซ็นต์  ดังนั้นในปี 2550สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1  จึงได้กำหนดการพัฒนา  4 รูปแบบ

 

ในโรงเรียนขนาดเล็กสู่การกระจายอำนาจแบบศูนย์เครือข่าย  จำนวน  20 ศูนย์  และได้กำหนดรูปแบภายในศูนย์ออกเป็น  3  รูปแบบคือ

1.      รูปแบบพี่ช่วยน้อง  ในเรื่องการบริหารงานทั้ง 4 งาน ของโรงเรียน มีจำนวน  11 ศูนย์

โดยโรงเรียนขนาดใหญ่ช่วยงานด้านบริหารทั่วไป  สำหรับอีก 3 งาน โรงเรียนขนาดเล็กช่วยกันบริหารจัดการ

2.      รูปแบบน้องร่วมแรงร่วมใจ  ในเรื่องการบริหารงานทั้ง 4 งาน ของโรงเรียน 

มีจำนวน  6 ศูนย์  โดยโรงเรียนขนาดเล็ก  แบ่งหน้าที่กันความรับผิดชอบ งานในโรงเรียนทั้ง  4  งาน

                       3.   รูปแบบทดลอง  คือใช้ครูอัตราจ้างชั่วคราว ไปจัดทำงานทั้ง 4 งาน ของโรงเรียน  มีจำนวน  4  ศูนย์   โดยให้ครูอัตราจ้างชั่วคราว  ทำงานทั้ง 4  งานของโรงเรียน และยังช่วยดูแลการเรียน

การสอนในสาระที่ขาดแคลนด้วย ซึ่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1  ให้ศูนย์แต่ละศูนย์ไปกำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละศูนย์เอง

                        และในแต่ละรูปแบบจำนวน  20 ศูนย์ได้เรียนเชิญกำนันตำบล  นายก อบต  ของแต่ละตำบลที่โรงเรียนขนาดเล็กตั้งอยู่ เป็นกรรมการที่ปรึกษาแต่ละศูนย์ด้วย

                        จากการได้ดำเนินการมาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2550  ผลการรายงานโรงเรียนในแต่ละรูปแบบ  มีผลดังนี้

1.      นับว่าเป็นการแก้ไขปัญหาในเรื่องครูผู้สอนออกนอกห้องเรียนได้อยู่ในระดับดีขึ้น

2.      ครูอัตราจ้างชั่วคราว ในรูปแบบที่  3  เห็นว่าเป็นรูปแบบที่ค่อนข้างยืดหยุ่นและได้ผล

การบริหารจัดการได้ดีพอสมควร และมีการปรับปรุงกระบวนการและกลวิธีอยู่ตลอดเวลา

3.      ความพึงพอใจ ครูผู้สอน นักเรียน  ผู้ปกครองและผู้บริหาร  อยู่ในเกณฑ์ดี

4.      การนำ 4 รูปแบบมาผสมผสานทำให้เกิดนวัตกรรมใหม่ขึ้น

5.      การให้โรงเรียนเลือกดำเนินการในแต่ละรูปแบบทั้ง 4 รูปแบบเป็นการสมัครใจและ

ทำให้ผู้บริหาร   ครูผู้สอน  ประธานกลุ่มโรงเรียน  กำนัน  นายก อบต   มีความพร้อมตามบริบทของตนเอง

                       6.  การบริหารศูนย์เครือข่าย เป็นการบริหารจัดการแบบร่วมแรงร่วมใจกันอย่างจริงจังและมีจุดหมายอันเดียวกัน  เพื่อองค์กรหลักต่อไป

7.      ขณะนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน  และจะออกนิเทศติดตามผลการดำเนินแต่ละ

รูปแบบช่วงเดือนธันวาคม  2550 ร่วมกับอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร  ต่อไป

                       สำหรับในปี 2550  ได้เรียนเชิญอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร มาช่วย

การดำเนินงานและวิจัยในแต่ละรูปแบบด้วย  และเมื่อสิ้นปีการศึกษา สพท.กพ 1  จะสรุปเป็นผลการวิจัยทั้ง 3 รูปแบบ รายงานให้  สพฐ ได้รับทราบต่อไป

การพัฒนา  4 รูปแบบโรงเรียนขนาดเล็กสู่การกระจายอำนาจแบบศูนย์เครือข่าย

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 1

------------------

ที่มา           การที่กระทรวงศึกษาธิการ  ได้กำหนดนโยบายยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก  ในปี 

พ.ศ. 2547  โดยให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่าง ๆ  ได้คิดนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้นเรียน  ครูผู้สอนไม่ครบสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  2544 ขาดแคลนสื่อการเรียน

การสอน และขาดแคลนครูทำงานทั้ง 4 ด้าน ดังนั้นสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1 จึงได้คิดนวัตกรรมการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้น ได้ได้ทำหลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้นขี้น  จำนวน 10 หน่วยการเรียนรู้  ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้น  และได้มีการปรับปรุงหลักสูตรและกลยุทธ์ต่าง ๆ  ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขี้นตลอดเวลา และในปีการศึกษา 2548 2549  ได้กำหนดรูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก  4 รูปแบบ  ดังนี้

2.      รูปแบบ  D   เป็นโรงเรียนมีครูประจำชั้น ป. 1 - 6  โดยใช้หลักสูตรอิงมาตรฐาน

ช่วงชั้นจำนวน  22  โรงเรียน

                      2.  รูปแบบ  B  เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบรวมช่วงชั้น  โดยใช้หลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้น และหลักสูตรอิงมาตรบานช่วงชั้น  จำนวน   42 โรงเรียน

                      3.  รูปแบบ  F - 1  ใช้หลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้น  จำนวน 10  โรงเรียน

                      4. รูปแบบ  F – 2   ใช้หลักสูตรไทยคม  จำนวน 14  โรงเรียน

จากการประเมินผลการใช้รูปแบบการพัฒนาการเรียนการสอน  ทั้ง 4 รูปแบบ  ปรากฏว่ามีจุดเด่นและจุดด้อย ทั้ง 4 รูปแบบ  โดยในปีการศึกษา 2549  ได้ของบประมาณจาก อบจ.กำแพงเพชร  จัดทำบทเรียนสำเร็จรูป จำนวน  3  สาระการเรียนรู้คือภาษาไทย คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  เพื่อใช้ส่งเสริมการเรียนการสอน สาระหลักและเป็นปัญหาในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไป

                       โดยจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน .ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2549  ภาพรวมมีผลสัมฤทธิ์อยุ่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจและสูงกว่าโรงเรียนขนาดกลางและใหญ่

                        และสำหรับในปีการศึกษา  2550  จากการวิเคราะห์  ( SWOT )  การยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก  ตั้งแต่ปี 2547 2549  โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1  ได้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับครูไม่ครบชั้นเรียนและสาระการเรียนรู้ เพื่อเป็นการบรรเทาได้พอสมควรแล้ว  แต่โรงเรียนขนาดเล็ก ในเรื่องครูไม่ประจำห้องเรียนก็ยังเกิดขึ้น เนื่องจากการบริหารงานทั้ง 4 ด้านของโรงเรียนยังต้องอาศัยครูผู้สอนช่วยดำเนินการจึงทำให้ครูไม่สามารถประจำห้องเรียนได้ 100 เปอร์เซ็นต์  ดังนั้นในปี 2550สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1  จึงได้กำหนดการพัฒนา  4 รูปแบบ

 

ในโรงเรียนขนาดเล็กสู่การกระจายอำนาจแบบศูนย์เครือข่าย  จำนวน  20 ศูนย์  และได้กำหนดรูปแบภายในศูนย์ออกเป็น  3  รูปแบบคือ

3.      รูปแบบพี่ช่วยน้อง  ในเรื่องการบริหารงานทั้ง 4 งาน ของโรงเรียน มีจำนวน  11 ศูนย์

โดยโรงเรียนขนาดใหญ่ช่วยงานด้านบริหารทั่วไป  สำหรับอีก 3 งาน โรงเรียนขนาดเล็กช่วยกันบริหารจัดการ

4.      รูปแบบน้องร่วมแรงร่วมใจ  ในเรื่องการบริหารงานทั้ง 4 งาน ของโรงเรียน 

มีจำนวน  6 ศูนย์  โดยโรงเรียนขนาดเล็ก  แบ่งหน้าที่กันความรับผิดชอบ งานในโรงเรียนทั้ง  4  งาน

                       3.   รูปแบบทดลอง  คือใช้ครูอัตราจ้างชั่วคราว ไปจัดทำงานทั้ง 4 งาน ของโรงเรียน  มีจำนวน  4  ศูนย์   โดยให้ครูอัตราจ้างชั่วคราว  ทำงานทั้ง 4  งานของโรงเรียน และยังช่วยดูแลการเรียน

การสอนในสาระที่ขาดแคลนด้วย ซึ่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1  ให้ศูนย์แต่ละศูนย์ไปกำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละศูนย์เอง

                        และในแต่ละรูปแบบจำนวน  20 ศูนย์ได้เรียนเชิญกำนันตำบล  นายก อบต  ของแต่ละตำบลที่โรงเรียนขนาดเล็กตั้งอยู่ เป็นกรรมการที่ปรึกษาแต่ละศูนย์ด้วย

                        จากการได้ดำเนินการมาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2550  ผลการรายงานโรงเรียนในแต่ละรูปแบบ  มีผลดังนี้

6.      นับว่าเป็นการแก้ไขปัญหาในเรื่องครูผู้สอนออกนอกห้องเรียนได้อยู่ในระดับดีขึ้น

7.      ครูอัตราจ้างชั่วคราว ในรูปแบบที่  3  เห็นว่าเป็นรูปแบบที่ค่อนข้างยืดหยุ่นและได้ผล

การบริหารจัดการได้ดีพอสมควร และมีการปรับปรุงกระบวนการและกลวิธีอยู่ตลอดเวลา

8.      ความพึงพอใจ ครูผู้สอน นักเรียน  ผู้ปกครองและผู้บริหาร  อยู่ในเกณฑ์ดี

9.      การนำ 4 รูปแบบมาผสมผสานทำให้เกิดนวัตกรรมใหม่ขึ้น

10.  การให้โรงเรียนเลือกดำเนินการในแต่ละรูปแบบทั้ง 4 รูปแบบเป็นการสมัครใจและ

ทำให้ผู้บริหาร   ครูผู้สอน  ประธานกลุ่มโรงเรียน  กำนัน  นายก อบต   มีความพร้อมตามบริบทของตนเอง

                       6.  การบริหารศูนย์เครือข่าย เป็นการบริหารจัดการแบบร่วมแรงร่วมใจกันอย่างจริงจังและมีจุดหมายอันเดียวกัน  เพื่อองค์กรหลักต่อไป

8.      ขณะนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน  และจะออกนิเทศติดตามผลการดำเนินแต่ละ

รูปแบบช่วงเดือนธันวาคม  2550 ร่วมกับอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร  ต่อไป

                       สำหรับในปี 2550  ได้เรียนเชิญอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร มาช่วย

การดำเนินงานและวิจัยในแต่ละรูปแบบด้วย  และเมื่อสิ้นปีการศึกษา สพท.กพ 1  จะสรุปเป็นผลการวิจัยทั้ง 3 รูปแบบ รายงานให้  สพฐ ได้รับทราบต่อไป

การพัฒนา  4 รูปแบบโรงเรียนขนาดเล็กสู่การกระจายอำนาจแบบศูนย์เครือข่าย

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 1

------------------

ที่มา           การที่กระทรวงศึกษาธิการ  ได้กำหนดนโยบายยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก  ในปี 

พ.ศ. 2547  โดยให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่าง ๆ  ได้คิดนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้นเรียน  ครูผู้สอนไม่ครบสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  2544 ขาดแคลนสื่อการเรียน

การสอน และขาดแคลนครูทำงานทั้ง 4 ด้าน ดังนั้นสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร  เขต 1 จึงได้คิดนวัตกรรมการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้น ได้ได้ทำหลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้นขี้น  จำนวน 10 หน่วยการเรียนรู้  ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้น  และได้มีการปรับปรุงหลักสูตรและกลยุทธ์ต่าง ๆ  ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขี้นตลอดเวลา และในปีการศึกษา 2548 2549  ได้กำหนดรูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก  4 รูปแบบ  ดังนี้

3.      รูปแบบ  D   เป็นโรงเรียนมีครูประจำชั้น ป. 1 - 6  โดยใช้หลักสูตรอิงมาตรฐาน

ช่วงชั้นจำนวน  22  โรงเรียน

                      2.  รูปแบบ  B  เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบรวมช่วงชั้น  โดยใช้หลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้น และหลักสูตรอิงมาตรบานช่วงชั้น  จำนวน   42 โรงเรียน

                      3.  รูปแบบ  F - 1  ใช้หลักสูตรบูรณาการอิงมาตรฐานช่วงชั้น  จำนวน 10  โรงเรียน

                      4. รูปแบบ  F – 2   ใช้หลักสูตรไทยคม  จำนวน 14  โรงเรียน

จากการประเมินผลการใช้รูปแบบการพัฒนาการเรียนการสอน  ทั้ง 4 รูปแบบ  ปรากฏว่ามีจุดเด่นและจุดด้อย ทั้ง 4 รูปแบบ  โดยในปีการศึกษา 2549  ได้ของบประมาณจาก อบจ.กำแพงเพชร  จัดทำบทเรียนสำเร็จรูป จำนวน  3  สาระการเรียนรู้คือภาษาไทย คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  เพื่อใช้ส่งเสริมการเรียนการสอน สาระหลักและเป็นปัญหาในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไป

                       โดยจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน .ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2549  ภาพรวมมีผลสัมฤทธิ์อยุ่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจและสูงกว่าโรงเรียนขนาดกลางและใหญ่

                        และสำหรับในปีการศึกษา  2550

หมายเลขบันทึก: 232225เขียนเมื่อ 27 ธันวาคม 2008 19:27 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 มิถุนายน 2012 09:49 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

มาเรียนรู้ด้วยค่ะ ขอบคุณค่ะ

newyears1.gif 

อีกไม่ถึงเดือน สมศจะมาประเมินแล้วหละคะ ตอนนี้กำลังเตรียมตัวรอรับการประเมิน ยุ่งน่าดูแล้วหละคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท