ตัวอย่างเครื่องมือ CAR 1


ข้อมูลรายบุคคล

ตัวอย่าง ( 1 )

1. ชื่อนักเรียน...

2. ภูมิหลังครอบครัว

3.พัฒนาการทางด้านต่างๆ

4. ผลการเรียนรู้ในกลุ่มสาระฯ

5. แนวทางการพัฒนา

ตัวอย่าง ( 2 )

1. ชื่อนักเรียน...

2. จุดเด่น

3. จุดด้อย

4. จุดที่ควรพัฒนา

5. แนวทางการพัฒนา

ตัวอย่าง ( 3 )

1. ชื่อนักเรียน       จุดเด่น     จุดด้อย      จุดที่ควรพัฒนา     แนวทางการพัฒนา

กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่มีความพร้อมทุกด้านสูง

ชื่อ......

กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่มีความพร้อมปานกลาง

ชื่อ...

กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ไม่มีความพร้อม

ชื่อ......

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 218726เขียนเมื่อ 25 ตุลาคม 2008 16:02 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 19:41 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (16)

สวัสดีค่ะ แวะมาดูcar สักคันหนึ่งค่ะ ขอบคุณค่ะ

สวัสดีค่ะที่มาทักทาย ช่วยเพิ่มเติมด้วยเพื่อเด็กน้อยค่ะ

ขอขอบคุณพี่คิมนะค่ะที่มาทักทายและเอื้อในการเรียนรู้จากบันทึกจะติดตามบันทึกจากพี่ค่ะ

ขอบคุณ คุณธนิตย์ สุวรรณเจริญ มากค่ะที่มาทักทาย ติดตามอ่านบันทึกทุกท่านค่ะ

  • สวัสดีครับคุณครู รุจี เฉลิมสุข
  • แวะมาเยี่ยมครับ
  • ให้ความรู้สึกนึกถึงเมื่อครั้งเป็นครูคั้งแรก 2515
  • ปัจจุบันเกษียณแล้วและทำการอุดมศึกษาอยู่กับ มรภ.พระนคร ครับ
  • สรีสวัสดิ์ตลอดไปครับ

อยากทราบความหมาย"ข่วงผญ๋า" น่าสนใจ

หว้สาครูรุจิครับ...

ยินดีจาดนักที่เข้ามาแว่อ่าน...และขอทำความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้อักษรครับ....

ผมเขียนตัวอักษรว่า ผะหญา..(หมายถึงภูมิปัญญา,ความหล้วก,ฉลาด)

เมื่อเขียนอักษรล้านนาจะมีตัว  ป (ตัว ปะ) ควบตัว   (ระ)  ดังนี้     ปร    อ่านออกเสียงว่า "ผะ" ซึ่งเป็นคำยกเว้นตามหลักของอักขระวิธีของอักษรล้านนา  สรุปว่า   หากมีตัว   ร(ระ)ควบอักษรพยัญฃนะต้นวรรคใด  ให้ออกเสียงเป็นพยัญชนะตัวถัดไป  ในที่นี้  ตัว  ร(ระ)ควบตัว  ป(ปะ)   ออกเสียงอักษรในวรรคเดียวกันตัวถัดไปคือตัว   ผ(ผะ) เมื่ออ่าน   ตัว ปร  จึงออกเสียงว่า ผะและหางตัว     ผสมสระ  อา   อ่านออกเสียงขึ้นนาสิกเสียงสูงว่า "หญา"  ดังนั้นจึงเขียนเป็นอักษรไทยกลางว่า  "ผะหญา"

ไม่เขียน"ผญ๋า"  เพราะรากศัพท์อักษรล้านนาไม่ได้ใช้ตัว  "ผ"(ผะ)โดยตรง

อีกประการหนึ่งตัว "ญ" เป็นอักษรต่ำเสียงสามัญตามอักขระวิธีของภาษาไทยกลาง ไม่มีสิทธิ์ใช้วรรณยุกต์จัตวา  แต่หากจะให้ออกเสียงจัตวาต้องมีอักษรสูงหรือตัว "ห" นำเช่น    หญิง,หญ้า,ใหญ่  ฯลฯ. เป็นต้น

ดังนั้นผมจึงเขียนว่า " ผะหญาล้านนา"  ซึ่งปริวรรตตามการอ่านอักขระวิธีของอักษรล้านนา

ขอให้ครูรุจิลองศึกษาดูอีกครั้งหรือไปขอความรู้จากท่าน ศ.กิติคุณมณี  พยอมยงค์  ซึ่งอยู่ที่หน้าตลาดแม่ริมนี้เอง  ท่านก็จะได้ความรู้ที่แท้จริงและลึกแม่นยำยิ่งขึ้น

ขอเป็นกำลังใจ  หากว่างๆลองไปแวะที่แหล่งเรียนรู้ผะหญาล้านนาสวนชาปิ้งหินไฟของผมได้ทุกเวลา  อยู่เหนือหัวสะพานข้ามแม่ปิงด้านทิศตะวันตก  ถนนอ้อมเมืองหน้าศาลากลางเชียงใหม่ได้ทุกเวลาขณะนี้ผมเกษียณแล้วหมาดๆจึงมีเวลาทำหลักสูตรการฟ้อนดาบ ฟ้อนหอก  สอนภาษาวรรณกรรม  การแต่งคร่าว แต่งกะโลงล้านนา การตีกลองปู่เจ่  กลองสะบัดชัยอยู่ครับ

ด้วยความปรารถนาดีจากลุงหนาน....พรหมมา

 

นับว่าเป็นวาสนาที่มาปะท่านผู้รู้ที่แท้จริง ลุงหนานใจ๋ดีขนาด หนูจะพยายามไปแอ่วและขอความรู้อย่างแน่นอน อยากจะสูมาเตอะที่เขียนผิดพลาดทางเพื่อนบล็อกคงให้อภัยเน้อเจ้า ขอขอบคุณลุงหนานอีกครั้งค่ะ

แวะมาทักทายและรับสิ่งดีดีค่ะ..

ขอบคุณนะครับ ที่แวะไปเยี่ยมเยียนกัน...ฝากเพลงใหม่มาให้ดูด้วยครับ

 

ลืมบอก เพลงนี้ผมสร้างเรื่องเอง ลองดูนะครับ ว่ารู้เรื่องหรือปล่าว อ้อ ข่วงผะหญา คืออะไรครับ ผมไม่ได้อ่านมาแต่ต้นนะครับ เลยสงสัย รู้จักแต่คำว่า ผะหยา จากเรื่องของ คำพูน บุญทวี

อ่อ พออ่านไปๆ ก็ได้ความรู้จากลุงหนาน ที่จริงแล้ว คือผะหญา เหมือนที่ผมเคยอ่านในหนังสือ เค้าบอกว่าเป็นกวีอิสาน อิิอิ ผมจำได้คำนึง เค้าว่า"เมื่อเจ้าได้ขี่ช้างเป็นพระยา จงอย่าลืมชาวนาำ ที่ยังถือเคียวดำกล้า" แต่คำผะหญา จริงๆ นี่ลืมไปแล้วครับ

  •  สวัสดีครับคุณrinda
  • ด้วยใจ๋ระนึก จึงได้ศึกษา ของโบราณา เพื่อว่าสืบสร้าง
    คุณค่าเกินสิน ต๋ามrindaอ้าง ช่วยหาแนวทาง สืบเซาะ
    ขอเจิญrinda แวะมาลัดเลาะ มาอ่านค่าวอั้น เนอนาย
    rindaคนนี้ บ่ได้หนีหาย ตั๋วม่อนคำจาย ดีใจ๋แต๊เจ้า.

โรงเรียนอุตรดิตถ์แวะมาเยี่ยม

11-12ธค.52 งานครบรอบร้อยปีอต.

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท