การจัดการเรียนรู้


การจัดการเรียนรู้

 

 ก

 


ารจัดการความรู

(KNOWLEDGE MANAGEMENT)

 

สมพร  เพชรสงค์ 1

 

                        “Knowledge Management” หมายถึงการบริหารความรู หรือการจัดการความรู หรือการบริหารจัดการความรู ในที่นี้ก็คือนัยเดียวกันซึ่งตอไปในเนื้อหานี้จะใชสัญลักษณ KM เปนหลักซึ่งจะพูดถึงประเด็นดังตอไปนี้

                   ¢      KM คืออะไร

                   ¢      มีองคความรูอะไรในหนวยงาน

                   ¢      ทําไมตองทํา KM

                   ¢      จะดําเนินงาน KM ไดอยางไร

                   ¢      ประโยชนที่พึงได จาก KM

                   ¢      บทสรุป KM

KM (Knowledge Management) คืออะไร

                   การจัดการความรู..(Knowledge Management) มีผูใหความหมายบางทัศนะ   เชน วิจารณ พานิช (2547 : 4) นิยามวาเปนกระบวนการ (Process) ที่ดําเนินการรวมกันโดยผูปฏิบัติงานในองคการ เพื่อสรางและใชความรูในการทํางานใหเกิดสัมฤทธิ์ผลดีขึ้นกวาเดิม  

                   วีระเดช เชื้อนาม (2548) สรุปไววาเปนวิธีการจัดการขอมูลที่เปนความรูให้เป็น         ระเบียบ ครบถวนตามที่ตองการ และงายตอการคนหาเพื่อเปนการเก็บรักษาความรูใหควบคูกับ
องคกรตลอดไป ซึ่งจําเปนตองมีระบบที่รวดเร็ว สะดวก งายตอการคนหาและตัดสินใจ

                   สุภาวดี ฉายวิมล (AIS : 2548) ใหความสําคัญไววาความรูเปนตัวขับเคลื่อนหลักในการเปลี่ยนแปลง ความรูเกิดขึ้นทุกๆ วัน ถารวบรวมไวจะเปนความรูขององคกรทําใหเกิดปญญาปฏิบัติตอยอด เกิดความรูใหมไมมีที่สิ้นสุด

                   สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ : ... (2547 : 19) ไดอธิบายเรื่องการบริหารความรูในองคกรวาเปนการนําความรูมาใชพัฒนาขีดความสามารถขององคกรใหมากที่สุดโดยมีกระบวนการในการสรรหาความรูเพื่อถายทอดและแบ่งปันไปยังบุคลากรเปาหมายไดอยางถูกตองเหมาะสม

                   การจัดการความรู จึงนาจะหมายถึงขอบขายองคประกอบเหลานี้ คือ

                   1. เปนกระบวนการ หรือวิธีการรวบรวมความรู

                   2. กระทําโดยผูปฏิบัติงานในองคกรนั้นๆ

                   3. เปนการสรรหา สราง รวบรวมความรูใหเปนระบบ

                   4. การเขาถึงและนํามาใชสะดวกงายตอการสืบคน

                   5. กอใหเกิดปญญาปฏิบัติในการปฏิบัติงาน

                   6. ตองมีการถายทอดและพัฒนาไมสิ้นสุด

                   7. การนํามาใชพัฒนาขีดความสามารถขององคกร

                   8. มีการถายทอดและแบงปนความรูตอกัน

มีองคความรูอะไรในหนวยงาน

        ความรู (Knowledge) ที่มีอยูในหน่วยงานซึ่งปฏิบัติสืบเนื่องติดต่อกันมานอกเหนือจากระเบียบแบบแผน ขอกฎหมายแลว ยังมีประสบการณบุคคล วิธีการพัฒนางาน การศึกษา 
คนควา การวิจัย บทเรียนความสําเร็จ ความลมเหลว เปนตน ทั้งที่เกิดขึ้นแลว กําลังเกิดขึ้น และจะเกิดขึ้นในอนาคต ลวนมีคุณคาที่กระจัดกระจาย ไมมีการรวบรวมจัดระบบที่ดีพอ และบางอยางเหลือ  แตความสําเร็จใหเลาขาน โดยถูกลืมกระบวนการ วิธีไปสูความสําเร็จนั้น

                   จากการสํารวจองคกรชั้นนําของโลก  (บดินทร วิจารณ 2547 : 39) ต่อคําถามวา      ทรัพยากรอะไรที่จะกอใหเกิดมูลคาและคุณคาเพิ่มมากที่สุดในองคกรผลออกมาวา คนมีความสําคัญมากที่สุดถึง 43 % เงิน 19% การปรับกระบวนการและองคกร  17 %  ความสัมพันธ 15% และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ 6% นั่นหมายความวา คนมีความสําคัญมากที่สุดเพราะเปนผูใชเทคนิคและทําใหเปนจริงในทุกๆ ดานไมวาจะเปนผลผลิต การบริการ และการบริหารจัดการ

                   ดานทุนปญญาในองคกร บดินทร วิจารณ (2547 : 36-37) ไดใหขอมูลไววา  คุณคา ที่สามารถวัดไดทางบัญชี (Tangible Asset) มีเพียง 20% อีก 80% เป็นคุณคาที่เกิดจากทรัพยสิน
ไมมีตัวตน
(Intangible Asset) หรือทุนทางปญญา (Intellectual Capital) ซึ่ง ได้แก่ ความนาเชื่อถือและความสามารถในองคกรในหลายๆ ดาน เชน ภาวะผูนํา ความรูความสามารถขององคกร เปนตน

                   สํานักงานพัฒนาระบบราชการ ( ... )  ไดจําแนกความรูไว 2 ประการ (2547 : 19-20)

                   1. ความรูเฉพาะตัว (Tacit Knowledge) เปนความรูที่ไดจากประสบการณ
พรสวรรค หรือสัญชาติญาณของแตละบุคคล ในการทําความเขาใจในสิ่งตางๆ เปนความรูที่ไมสามารถถายทอดออกมาเปนคําพูด หรือลายลักษณอักษรไดโดยงาย เชน ทักษะการทํางานฝมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห บางคนจึงเรียกวาเปนความรูแบบ
นามธรรม

2.   ความรูทั่วไป (Explicit Knowledge) เปนความรูที่สามารถรวบรวมถายทอดได โดยผานวิธีตางๆ เชน การบันทึกเปนลายลักษณอักษร ทฤษฎี คูมือตางๆ และบางครั้งเรียกวาเปน  ความรูแบบ รูปธรรม

นักวิชาการบางทานใหความเห็นวา ความรูแบบ นามธรรมเปน ความรูในตนจะ
อยูในสมองคน เชื่อมโยงกับประสบการณ ความเชื่อ ค่านิยม ไมสามารถถายทอดออกมาไดทั้งหมด สวนความรูแบบ
รูปธรรมเปน ความรูในกระดาษ ซึ่งอยูในเอกสาร วารสาร คูมือ คําอธิบาย คอมพิวเตอร Internet ฐานขอมูล (Context - Free) และย้ำวา ตองรูจักใชความรูทั้งสองประเภทอยางสมดุล

จึงนาจะสรุปไดวาในสภาพความเปนจริง ความรูในหนวยงานมีอยูหลากหลายมาก ทั้งความรูเฉพาะตัว ความรูทั่วไป ความรูในคน ความรูในกระดาษ ซึ่งความรูในคนมีคุณคาและ
สําคัญสูงสุด
การนําความรูมาใชอยางสมดุล จึงเปนทางเลือกที่ตองพยายามจัดการขับเคลื่อนอยาง
ตอเนื่องในทุกหนวยงาน

หมายเลขบันทึก: 213952เขียนเมื่อ 4 ตุลาคม 2008 03:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 02:30 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท