การออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยใช้ “Backward”


การออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยใช้ “Backward”

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยใช้ “Backward” 

กลุ่มส่งเสริมการเรียนการสอนแลประเมินผล

การวางแผนแบบย้อนกลับ (backward) 

  • ฉันต้องการให้นักเรียนของฉันรู้อะไรและสามารถทำอะไรได้?
  • ฉันจะรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนของฉันรู้สิ่งนั้นแล้วและ    สามารถทำสิ่งนั้นๆได้
  • อะไรเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำ เพื่อช่วยให้นักเรียนของฉัน     เกิดการเรียนรู้ในองค์ความรู้ตามที่ต้องการ
  • อะไรที่ฉันควรทำ เมื่อนักเรียนของฉันไม่รู้ในสิ่งที่ควรรู้   หรือไม่สามารถทำสิ่งนั้นๆได้

ทำไมต้องแบบย้อนกลับ(WHY) 

  • ชัดเจนในระดับของการยอมรับ
  • เป้าหมายของความสามารถที่แสดงออก
  • มุ่งเน้นที่ร่องรอยหลักฐานของการเรียนรู้
  • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเชื่อมโยงสัมพันธ์กับมาตรฐานการเรียนรู้  

ขั้นตอนที่ 1 ฉันต้องการให้นักเรียนของฉันรู้อะไร 
            และสามารถทำอะไรได้
 

  • มาตรฐานและรายละเอียดต่างๆ
  • การคลี่ขยายมาตรฐาน                                                                       

- การระบุแนวคิดที่สำคัญๆ                               

- ความเข้าใจที่ยั่งยืนคงทน/ชุดคำถามที่สำคัญและจำเป็น                                      

- ลำดับก่อนหลังของความเข้าใจที่ยั่งยืนและชุดคำถามจำเป็น                                       

- องค์ความรู้และทักษะต่างๆ                                                         

ขั้นที่ 2 ฉันจะรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนของฉันรู้ 
        และสามารถทำในสิ่งนั้นได้
 

  • ร่องรอยหลักฐานแห่งการเรียนรู้และความเข้าใจ
  • รายละเอียดของการย้อนกลับเกี่ยวกับความสามารถปฏิบัติของนักเรียน
  • ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างการประเมินผลกับจุดประสงค์ต่างๆ
  • ความหลากหลายของการประเมินผล
    • การตรวจสอบรายการอย่างไม่เป็นทางการเพื่อความเข้าใจ
    • การสังเกตและการซักถาม
    • การทดสอบและการให้ตอบปัญหาช่วงสั้นๆ
    • การแสดงการมีองค์ความรู้ทันทีทันใด
    • ภาระงานที่บ่งบอกถึงการมีความรู้ความสามารถ
    • การประเมินผลด้วยตนเองของนักเรียน  

ขั้นที่ อะไรที่จำเป็นต้องทำเพื่อช่วยให้นักเรียน  
         ของฉันเรียนรู้องค์ความรู้ตามที่ต้องการ
 

  • การเรียนการสอน
  • การรอบรู้ที่เกิดขึ้นโดยการประเมินผล
  • การระบุแหล่งการเรียนรู้
  • การวางแผนหน่วยการเรียนรู้และ 
    การจัดลำดับแผนการจัดการเรียนรู้
     

ขั้นที่ 4 อะไรที่ฉันควรทำ เมื่อมีนักเรียนของฉันไม่รู้ 
        หรือไม่สามารถทำสิ่งนั้นๆได้
 

  • การแยกกลุ่มออกจากกัน
  • การสอนซ้ำ
  • การคิดออกแบบใหม่

กระบวนการวางแผนการเรียนการสอน 

  • แบบดั้งเดิม
  • แบบปฏิบัติการอิงมาตรฐาน  

แบบดั้งเดิม 

  •  
    • เลือกหัวข้อจากหลักสูตร
    • ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
    • ออกแบบและทำการประเมินผล
    • ให้เกรดหรือให้ข้อมูลย้อนกลับ
    • สอนในหัวข้อใหม่ต่อไป  

แบบปฏิบัติการอิงมาตรฐาน 
 

  •  
    • เลือกมาตรฐานจากจำนวนที่นักเรียนต้องการจะเรียนรู้
    • ออกแบบการประเมินผลตลอดไปถึงโอกาสที่นักเรียนสามารถแสดงออกตามมาตรฐานนั้นๆ
    • ตัดสินใจเลือก สิ่งที่สร้างโอกาสเกิดการเรียนรู้ที่นักเรียนต้องการจะเรียนรู้ในสิ่งนั้น และวางแผนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งประเมินได้ว่านักเรียนแต่ละคนมีความสามารถพอที่จะมีโอกาสเรียนรู้ได้
    • ใช้ข้อมูลจากการการประเมินผลเป็นข้อมูลย้อนกลับ สอนซ้ำ หรือไปสู่การเรียนในระดับต่อไป

 

 

 

การวางแผนแบบย้อนกลับ(backward) 

  • ฉันต้องการให้นักเรียนของฉันรู้อะไรและสามารถทำอะไรได้?
  • ฉันจะรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนของฉันรู้สิ่งนั้นแล้วและ    สามารถทำสิ่งนั้นๆได้
  • อะไรเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำ เพื่อช่วยให้นักเรียนของฉัน     เกิดการเรียนรู้ในองค์ความรู้ตามที่ต้องการ
  • อะไรที่ฉันควรทำ เมื่อนักเรียนของฉันไม่รู้ในสิ่งที่ควรรู้   หรือไม่สามารถทำสิ่งนั้นๆได้

 

กลุ่มส่งเสริมการเรียนการสอนแลประเมินผล

http://202.143.134.120/super1/km/km1/mt/Concept.ppt

 

หมายเลขบันทึก: 201336เขียนเมื่อ 16 สิงหาคม 2008 10:46 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 01:36 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ขอบคุณมากค่ะ ข้อมูลที่ดีค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท