พิชิตการสอบ QE วิชาสถิติวิจัย


          วันนี้นิสิตปริญญาโท สาขาบริหารการศึกษา ม.บูรพา ที่ผมรับผิดชอบสอนอยู่ได้ปรารภว่ากำลังจะสอบ comprehensive ในเร็ววันนี้ ประกอบกับวันนี้ได้มีการนำเสนอเรื่องของ การใช้Mindmap ในการทำงานและการเรียนรู้ ซึ่งผมได้ให้ดูตัวอย่างที่ใช้ในการทำงาน และตัวอย่างที่ใช้ในการจัดระบบความคิดเพื่อการเรียนรู้ นิสิตทุกคนสนใจว่าจะเตรียมตัวใช้กลยุทธ์อย่างไรในการพิชิตวิชาสถิติวิจัยในการสอบ Comprehensive ขอให้ผมนำมาเผยแพร่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเดิมได้อยู่ในบันทึกเรื่อง พิชิตการ สอบ QE วิชาสถิติวิจัย สามารถเข้าไปดูได้ในลิงค์ต่อไปนี้

http://gotoknow.org/blog/disakul/95371

     

    

พิชิตการสอบ QE วิชาสถิติวิจัย

       ช่วงนี้เป็นช่วงที่นิสิตนักศึกษาปริญญาเอกบางคนที่ยังไม่ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติปริญญาเอกก่อนจบการศึกษาหรือที่เรียกว่าสอบ QE (Qualification Examination) ซึ่งหลายคนกังวลใจกับการสอบผ่านด่านนี้ในวิชาสถิติวิจัย ผมจึงได้พยายามคิดเป็นสมรรถนะที่ผู้เตรียมสอบจะพึงพิชิตข้อสอบดังกล่าวได้หากปฏิบัติและฝึกฝนจนมีความชำนาญก็จะผ่านการสอบด้วยดี ดังนี้

๑.เขียนเค้าโครงให้ได้


         จำหัวข้อให้ขึ้นใจ
         เขียนให้ได้ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ


๒.ใช้สถิติให้แม่น


         ข้อตกลงเบื้องต้น
         ระดับข้อมูล
         ตัวแปรต่อเนื่อง/ไม่ต่อเนื่อง


๓. Understand Keyword ทั่วไป


 การวิจัยแบบต่าง ๆ
 การเขียนสมมุติฐานทางการวิจัย/ทางสถิติ
 ตัวแปรต่าง ๆ
  Exogeneous/Endogeneus
  Latent  /  Observe
  Extraneous / Intervene

 การควบคุมตัวแปรเกิน
 EMIC / ETIC
 SEM
 LISREL / AMOS / EQS
 Rule of Thumb
 Estimation
 Consistency
 Sampling Error
 Max min con
 Halo Effect / Hawthorne Effect
 Triangulation
 working theory
 creditbility / validity
 ระดับของการวิจัยเชิงคุณภาพ
 saturation

ฯลฯ


๔.ท่องชื่องานวิจัยที่ใช้สถิติแต่ละตัว


 Canonical Analysis
 Discriminant   Analysis
 MANOVA
 MANCOVA
 Cluster Analysis
 Logistic
 Hotelling T Square
 Factor Analysis
 Multiple Regression
 Path Analysis

ฯลฯ


๕.สำรวจให้ทั่วก่อนลงมือทำ


 ร่างแนวตอบแต่ละข้อไว้เป็นคำใหญ่ๆ ไว้ก่อนหน้า
 คำนวณเวลาพาทำให้ได้ทุกข้อ
 รู้จักพอ อย่าใช้เวลาข้อที่ทำได้มากเกินไปจนมีผลให้บางข้อตก


๖.ฝึกจำแบบ Mindmap


   จำคำใหญ่ ๆ แล้วค่อยไปขยาย


๗.ออกแบบงานวิจัยใส่สมอง


 แบบทดลองเป็นพื้น แบบอื่น ๆ ตามมาเอง
 True Exp / Quasi / Non Exp
 one shot case study
 Exp Design
  
๘.ตรึกตรองมองความแตกต่างมาเปรียบเทียบ


 การวิจัยเชิงปริมาณ VS การวิจัยเชิงคุณภาพ
 สถิติแต่ละตัวมีความเหมือนและต่าง เช่น
  Discriminant A กับ Cluster A
  Canonical กับ Multiple R
 True Experimental Design vs Quasi vs Non Exp
 positivism vs phenomenology
  validity , reliability , generalizability


๙.เฉียบด้วยการฝึกเขียนเซียนสิงห์สนาม

หมายเลขบันทึก: 197000เขียนเมื่อ 27 กรกฎาคม 2008 21:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 12:16 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (19)

ขอให้โชคดีครับคุณรัชนี และคุณปาริชาต

แวะมาอ่านค่ะ...ขอบคุณแทนเพื่อนๆทุกคนค่ะ

ได้รับของขวัญที่อาจารย์ส่งให้พวกเราก่อนสอบแล้ว จะนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ เพื่อผลการสอบที่ดี ขอบคุณอาจารย์มากค่ะ และพร้อมกับจะขยายผลให้เพื่อน ๆ ด้วยค่ะ

ขอบคุณมากนะคะอาจารย์ ที่มีเมตตาต่อเหล่าศิษย์ทั้งหลายค่ะ

ขอบพระคุณในความกรุณาของอาจารย์ค่ะ จะนำไปปฏิบัติตามคะ

เพิ่มตัวอย่างเยอะๆครับ...ขอบคุณครับ...

ขอบคุณในความอนุเคราะห์ที่อาจารย์ส่งมาให้ครับ

ขอขอบพระคุณมากครับที่อนุเคราะห์พวกผมในครั้งนี้

เอาใจช่วยให้ผ่านการสอบด้วยดีครับ

ขอบคุณครับอาจารย์ จะทำตามคำแนะนำนะครับ

หนูขอขอบพระคุณอาจารย์มากๆที่เมตตาศิษย์ และให้คำแนะนำดีๆเสมอ หนูดีใจจะที่คำปรารถของหนูทำให้เพื่อนหลายคนได้ประโยชน์ค่ะ หนูจะพยายามอ่านหนังสืออย่างเต็มที่และทำข้อสอบสุดความสามารถนะคะ ขอบคุณอาจารย์ดิศกุลมาก ๆ ค่ะ

THANK YOU SER ขอบคุณมากๆครับช่วยในการจำของผมได้เยอะ

ขอบคุณค่ะ ผอ. หนูจะสอบวันที่ 2 ต.ค. 54 ค่ะ เตรียมตัวบ้างค่ะ แต่ยังรู้สึกเหมือนยังมีข้อสงสัยอีกเยอะค่ะ (สอบครั้งแรกค่ะ)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท