โครงการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น


โครงการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
โครงการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
(แห่เทียนจำนำพรรษา)

โดย

นายนเรศ  เขมะสิงคิ

ครูชำนาญการ

          กระบวนการ

การดำเนินการตามโครงการและกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ และกลุ่มสาระการ

เรียนรู้ทั้ง 9 กลุ่ม ได้ดำเนินไปพร้อมกันอย่างเป็นระบบซึ่งถือเป็นพันธกิจและกลยุทธ์โรงเรียน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

1.  จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ

2.  จัดหาวัสดุอุปกรณ์ หล่อต้นเทียนตามที่กำหนด

3.  ออกแบบลวดลาย ร่างแบบลายตามที่ออกแบบไว้  บนต้นเทียน

4.  นักเรียนและครูแกะสลักต้นเทียนตามแบบที่ร่างจนแล้วเสร็จ

5.  แบ่งนักเรียนรับผิดชอบ แกะสลักต้นเล็ก

6.  ตกแต่งต้นเทียนบนรถเพื่อแห่ร่วมกับชุมชน และนำถวายที่วัด

ปัจจัยเกื้อหนุน

                ระยะเวลาจัดทำใช้เวลาประมาณ 1 เดือน จะเห็นถึงความสามัคคีของหมู่คณะการบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 9 กลุ่ม แม้จะมีปัญหาอุปสรรคบ้างแต่สามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคเหล่านั้นจนประสบผลสำเร็จ ผู้บริหารเห็นความสำคัญของการทำงานเป็นหมู่คณะให้กำลังใจและงบประมาณสนับสนุน จึงทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น ในวันแห่จะเห็นต้นเทียนเด่นเป็นสง่า และมีขบวนแห่ ขบวนฟ้อนรำ ฯลฯ สวยงามเป็นที่พอใจของบุคลากร และชุมชนตลอดจนนักท่องเที่ยว

 

 

ผลการดำเนินงาน

ปี 2550 ได้รับรางวัลการประกวดแกะสลักต้นเทียนชนะเลิศประจำปี 2550 จากต้นเทียน

หมายเลขบันทึก: 172976เขียนเมื่อ 25 มีนาคม 2008 16:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 21:09 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท