อนุทินส่วนตัว ๑๒ มี.ค. ๕๑


 

HA National Forum ๙
Living Organization  องค์กรที่มีชีวิต

 

อนุวัฒน์ : กล่าวเปิด
ระบบที่มีชีวิต   และ humanized health care ทำงานคุณภาพแล้วมีความสุข  
ภูมิปัญญารวมหมู่  
ความสามารถในการสร้าง ownership

 

จรัส : ทางรอดของการแพทย์ไทย
พายุ ต่อระบบสุขภาพ
มีข้อดี และข้อเสีย  ต้องจัดการเป็น
- วิทยาการก้าวหน้า  การระเบิดของ ค และ ท   ค วิชาการ  ค เฉพาะถิ่น 
- รพช. ขาดแคลน แต่พัฒนาคุณภาพได้  จากวิชา  ความเข้าใจสังคม  DM  HT  COPD  Asphyxia neonatorum, C/S   Ac myocardial infarctionCerebaral ischemic stroke, Ac appendicitis
-  การรักษามะเร็ง  มีรายละเอียดมาก   การรักษาซับซ้อน   เทคโน ก้าวหน้า   personalized therapy, genomic therapy, antisense therapy, angiotherapy
  มะเร็งป้องกันได้  รักษาหายขาดได้  เรื้อรัง
- การแพทย์เปลี่ยน
- เทคโน ราคาแพง
- ทุนนิยมเสรี   สุขภาพเป็นสินค้า   พลังการจัดการ  กำไรสูงสุด  แพทย์ - คนไข้  กลายเป็น ผู้ขายบริการ - ผู้ซื้อบริการ   สินค้าข้ามชาติ  ครอบงำโดย กม ต่างชาติ
- กระแส ปชต   สิทธิมนุษยชน   สุขภาพเป็นสิทธิ์   สิทธิ์ในการได้รับชดเชย   ความผิดอาญาแผ่นดิน  
- ความสัมพันธ์ แพทย์ - สังคม เปลี่ยน  เมตตา - กตัญญู  เปลี่ยน  พ่อพระ แม่พระ  บุพการี  สู่ความเสื่อมในสังคม
- ข้อมูลข่าวสาร โฆษณา  ค่านิยม  สับสน ความดี  ความชั่ว
- ศพพ  3 + 5
- ตั้งสติ   แยกเรื่องมิอาจหลีกเลี่ยง   สิ่งไม่พึงประสงค์
- คุณภาพบริการสุขภาพ  เพียร  เมตตากรุณา  ซื่อสัตย์สุจริต   ปัญญา   ศรัทธา  เชื่อในวิชาชีพ  ในสังคม  ใน ปชช 
- ตั้งสติ  รักษาศีลในวิชาชีพ : จริงใจ  อย่าหลอก อย่าลวง  อย่าเห็นแก่ตัว  ละความอยาก  อย่าสร้างความอยาก 
- สื่อสารสร้างความเข้าใจในสังคม สื่อมวลชน  นัก กม. ศาล  องค์กรสังคม  มองด้านดี
- องกรที่มีชีวิต  มีวิญญาณ  ขบวนการ HA มีวิญญาณ มีชีวิต
 
หลังการบรรยาย
     มีหมอหนุ่มๆ มาดักพบ ศ. นพ. จรัส ปรารภว่าสื่อต้องการเล่นงานหมอ   ว่าเราควบคุมตัวเราเองได้ แต่ควบคุมสื่อไม่ได้    สะท้อน negative mind/approach ในวงการแพทย์   ซึ่งเป็นมิจฉาทิฐิ    ศ. นพ. จรัส ตอบตรงไปตรงมาว่าวงการแพทย์เราต้องไม่ใช้วิธีการโต้ตอบ ตาต่อตา ฟันต่อฟัน    วิชาชีพแพทย์สูงส่ง ต้องมีเป้าหมายและวิธีการต่อสู้เพื่อสังคม ไม่ใช่เพื่อตัวเอง  

 

ขับเคลื่อนขีวิตด้วยจิตวิวัฒน์
พระไพศาล วิสาโล  เครือข่ายพุทธิกา 
ชีวิตไม่ใช่เครื่องจักร 
การใช้ความเห็นแก่ตัวเป็นแรงขับเคลื่อน   โยงกับอารมณ์ พื้นฐาน  ฝ่ายต่ำ เพื่ออยู่รอด 
แต่มนุษย์มีความต้องการสูงกว่านั้น   สูงกว่าสัญชาตญาณพื้นฐานของความเห็นแก่ตัว ยึดมั่นในอัตตาที่ไม่มีจริง  
มนุษย์มีมโนธรรม หรือความใฝ่ดี   มีความสุขเมื่อได้ทำความดี  สุขแม้ไม่มีทรัพย์สมบัติ  สุขเพราะชีวิตมีความหมาย  
อัตตาทำให้ทุกข์เมื่อคนอื่นดีกว่าเรา   มโธรรมทำให้เราไม่สบายใจเมื่อเห็นคนอื่นเดือดร้อนกว่าเรา 
การฝึกฝนกล่อมเกลาจิตใจ 
มโนธรรมมีอยู่แล้วตามธรรมชาติในมนุษย์   ไม่ได้เกิดจากการกล่อมเกลา  
สัญชาตญาณของการเอา - ให้   ในเด็กอายุต่ำกว่า ๑๘ เดือน และสูงกว่า   ในสัตว์ แสดงสัญชาตญาณของการเอื้อเฟื้อ  
มนุษย์ถูกโปรแกรมมาให้เห็นใจคนอื่น   รู้สึกทุกข์เมื่อเห็นคนอื่นทุกข์   รู้สึกสุขเมื่อเห็นคนอื่นสุข   mirror neuron ทำให้ถ่ายทอดอารมณ์กันได้ 
มนุษย์รับรู้ความสุขและทุกข์ของคนอื่นได้   คือเรามีสััญชาตญาณของการเห็นอกเห็นใจคนอื่น   เมตตากรุณาเป็นพื้นฐานจิตใจมนุษย์ 

โพธิจิต  สภาวะเหนือโลกธรรม  ทุกคนมี  สว่างไสว แต่ถูกเคลือบด้วยอัตตา
   ตื่นรู้ เห็นความจริงแจ่มแจ้ง
   ฝึกมโนธรรม  ขยายโพธิจิต   ไม่ต้องปรนเปรอด้วยวัตถุ
   อัตตา คืออุปสรรคของการเข้าสู่โพธิจิต
   มโนธรรมเป็นตัวยึดติด   
**กินปุ๋ยมาก ต้องใส่   กับมีปุ๋ยธรรมชาติ
   ชีวิตที่เข้าถึงความดีสูงสุด
   ไม่มีความสุขเพราะใช้อัตตาขับเคลื่อนชีวิต   

วิถีชีวิตและการงานต่อจิตวิวัฒน์
- เปิดใจรับรู้ความทุกข์ของคนอื่น   ทำให้มโนธรรมขยายวงกว้างขึ้น   อัตตาเล็กลง  
- เห็นคุณค่าของงานที่ทำ   เห็นประโยชน์ ของคนอื่น  เห็นใจคนอื่น   ทำให้จิตใจอ่อนโยน  
  หนังสือ งานเป็นเครื่องฝึกตน 
- องค์กรจัดการความดี ความสุขจากการทำความดี
ปลุกพลังความดี
1. เห็นใจและใส่ใจความทุกข์ของผู้อื่น
2. เห็นความดีของผู้อื่น
3. ได้รับไมตรีจิตจากผู้อื่น
4. มีคนเห็นความดีของตน หรือเชื่อว่าตนมีความดี
5. ได้รับคำชมเมื่อทำความดี
6. มีความสุข เกิดความมั่นคงในจิตใจ  จิตใจปลอดโปร่งผ่องใส
7. ได้ทำดีด้วยตนเอง และเห็นผู้อื่นมีความสุข
8. ข้ามพ้นอคติ อัตลักษณ์หรือสถานภาพ

ส่งเสริมพลังความดีในหน่วยงาน
1. ชักชวนผู้คนแบ่งปันความดีที่เคยทำหรือประสบ
2. เปิดโอกาส แลกเปลี่ยน สุข-ทุกข์ในชีวิต
3. ชื่นชมซึ่งกันและกัน  ให้กำลังใจกัน
4. ทำงานร่วมกัน  รับผิดชอบร่วมกัน
5. ร่วมกันทำสาธารณประโยชน์เกื้อกูลผู้อื่น
6. ส่งเสริมการพัฒนาชีวิตด้านใน
7. สร้างบรรยากาศ ให้งานเป็นเรื่องสนุกและเป็นเวทีแห่งการเรียนรู้

ลักษณะองค์กร
1. สัมพันธ์แนวนอนมากกว่าแนวตั้ง  เครือข่าย มากกว่าปิรามิด
2. -
3. -
4. ไม่เอาผลประโยชน์ทางวัตถุ
5. -
6. -

 

จิตวิวัฒน์  ชีวิต  องค์กร

 
                  
                            
        

 

หมายเลขบันทึก: 171232เขียนเมื่อ 17 มีนาคม 2008 08:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 23:09 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท