มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง


มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

1.ความเป็นกรดและด่าง (pH)

-
6.5-9.0
ใช้เครื่องวัดความเป็นกรดและด่างของน้ำ (pH Meter) ตามวิธีหาค่าแบบวิธีอีเล็กโตรเมตริก (Electrometric)
2.บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD)
มก./ล.
ไม่เกิน 20
ใช้วิธีอะไซด์ โมดิฟิเคชั่น (Azide Modification) ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 วัน โดยใช้ Synthetic Seawater
3.สารแขวนลอย (Suspended Soilds, SS)
มก./ล.
ไม่เกิน 70
ใช้วิธีการกรอง ผ่านกระดาษกรองใยแก้ว (Glass Fiber Filter Disc) ขนาดตากรอง 1.2 ไมโครเมตร
4.แอมโมเนีย (NH3-N)
มก-N./ล.
ไม่เกิน 1.1
ใช้วิธีโมดิไฟด์ ไอโดฟืนอล บลู (Modified Idophenol Blue)
5.ฟอสฟอรัสรวม (Total Phosphorus)
มก-P./ล.
ไม่เกิน 0.4
ใช้วิธีแอสคอร์บิค แอซิด (Ascorbic Acid)
6.ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)
มก./ล.
ไม่เกิน 0.01
ใช้วิธีเมธิลีน บลู (Methylene Blue)

7.ไนโตรเจนรวม (Total Nitrogen) คือ ผลรวมของไนโตรเจนละลาย (Total Dissolved Nitrogen) และไนโตรเจนแขวนลอย (Total Particlate Nitrogen)

 

 

แหล่งที่มา

 

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 121 ตอนที่ 49ง ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2547

 

มก-N./ล.
ไม่เกิน 4.0

ให้นำค่าการตรวจวัดไนโตรเจนละลายและไนโตรเจนแขวนลอยบอกรวมกัน โดยการหาค่า
(ก) ไนโตรเจนละลายให้ใช้วิธีเปอร์ซัลเฟต ไดเจนชั่น (Persulfate Digestion)
(ข) ไนโตรเจนแขวนลอยให้ใช้วิธีวัดค่าสารแขวนลอยบนแผ่นกรองใยแก้ว ขนาดตากรอง 0.7 ไมโครเมตร และวิเคราะห์ด้วย Nitrogen Analyzer


 

แหล่งที่มา



 

 
คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 15016เขียนเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2006 11:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 มิถุนายน 2012 22:13 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท