มหาวิทยาลัยวิจัย : จุฬาฯ (1)
ขอบันทึกประเด็นสำคัญสภาพของมหาวิทยาลัยที่เป็นหัวขบวนมหาวิทยาลัยวิจัยของไทยคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีปณิธาน
"บุกเบิกความรู้
สมชื่อมหาวิทยาลัย
สนับสนุนสังคมไทย
ก้าวไกลสู่สังคม"
"Searching for knowledge
Flourishing as a research university
Serving the society
Entering global area"
มีเป้าหมายบริหารจัดการงานวิจัยให้เกิดผลใน 5
ทิศทางหลัก
1. สร้างองค์ความรู้ด้านวิชาการ
2.
การวิจัยที่นำไปสู่การสร้างบัณฑิตระดับปริญญาโท - เอก
3.
สร้างความรู้อันนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือพัฒนาท้องถิ่น
4.
เชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
5.
เพื่อผลิตสินค้า/บริการรูปแบบใหม่
โครงสร้างในปัจจุบัน
9
สถาบัน
3. วิทยาลัย
114 ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (7
ศูนย์เป็นศูนย์วิจัยระดับนานาชาติ)
สถาบันวิจัย
ได้แก่
1. สถาบันการขนส่ง
2. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
3. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ
4. สถาบันวิจัยพลังงาน
5. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ
6. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์
7. สถาบันวิจัยสังคม
8. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม
9. สถาบันเอเชียศึกษา
วิทยาลัย ได้แก่
1. วิทยาลัยปิโตรเลียม
2. วิทยาลัยประชากรศาสตร์
3. วิทยาลัยการสาธารณสุข
ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางนานาชาติ
ได้แก่
1. The Asian Center for Population and Sustainable
Development Analysis
2. The Southeast Asian Center of System for Analysis,
Research, and Training for the Global Change (SEA - START)
3. The HIV - NAT Center
4. The Rabies and Encephalitis Center
5. WHO Collaborative Center for Chemical Safety (Pesticides
Section)
6. INCLENS (Epidemiology)
7. The SEA - Research and Training Center for
Biodiversity
นี่คือข้อมูลเชิงปริมาณให้เห็นความครอบคลุมกว้างขวางและความหลากหลายของการวิจัย - ของมหาวิทยาลัยวิจัย
วิจารณ์ พานิช
23 ธ.ค.48
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย Prof. Vicharn Panich ใน KMI Thailand
ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก