คำตอบ


ตามมาเพราะความคิดถึงค่ะ

Ranee

ตาหยู
เขียนเมื่อ
คำตอบ
not yet answered

น้องชายหาย

DSS "work with disability" ( หนิง )

ตาหยู
เขียนเมื่อ
คำตอบ
not yet answered

โดนเข้าให้แล้วนะคะ Blog Tag

IS

ตาหยู
เขียนเมื่อ
คำตอบ
not yet answered

ปักหมุดบ้านพ่อครูบาสุทธินันท์

พี่องุ่นคนสวย

ตาหยู
เขียนเมื่อ
คำตอบ

ขอบคุณครับ ภาพใหญ่สะใจดีครับ

ตกข่าวเลย

DSS "work with disability" ( หนิง )

ตาหยู
เขียนเมื่อ
คำตอบ

ผม ต้องขออภัยพี่หนิงจริงๆครับ

ที่ไม่ได้แจ้งพี่ครับ

เหตุเพราะนึกเอาเองทุกเรื่อง ต้องขออภัยด้วยครับ

ขอบคุณนะคะ

napalai ponsee

ตาหยู
เขียนเมื่อ
คำตอบ
รอติดตามครับ

ขอบคุณนะคะ

mim

ตาหยู
เขียนเมื่อ
คำตอบ
ขอบคุณเช่นกันครับ ที่แวะมาทักทาย

คิดนอกกะลา!!!

Ready Radee

ตาหยู
เขียนเมื่อ
คำตอบ

ต้องขอขอบคุณนะครับที่ถาม
ผมมีโอกาศได้สอน ทั้งระดับ ม.ต้น ม.ปลาย และนศ.มหาลัย แต่ระดับก็ต้องมีแนวสอนที่ต่างกัน
อย่างนศ. ผมก็ให้เค้าคิดตามก่อน แต่ก็ให้คิดนอกกรอบด้วย ก็ยังว่าเด็กไทยโดนสอนสั่งตั้งแต่เด็ก ให้ทำตาม แต่ไม่ให้คิดเอง
บ่อยครั้งครับที่คุยกับ นศ. แล้วเค้าไม่กล้าคุย ก็ต้องหาเวลาคุยนอกห้องเรียน ก่อนหรือหลังเวลาเรียนให้เค้าได้พูดก่อน

ในการสอนที่ต้องให้นศ.คิดเอง เพราะมักเอาเรื่องใกล้ตัวเค้าเอง เรื่องไม่ต้องใหญ่ หรือถามในสิ่งที่เค้าชอบ,เรื่องที่เค้าภูมิใจมาก แต่ผมจะไม่ถามเรื่องที่เค้าไม่ชอบ
เช่น สิ่งที่อยากเป็นในอนาคต ก็ถามว่าทำไมถึงอยากเป็น มีดีอะไร ต้องไปทำอะไรบ้าง  เป็นต้น

เมื่อเค้าที่จะเริ่มคิดได้บ้างแล้ว ก็ค่อยให้เค้าคิดเรื่องที่ใหญ่ขึ้น หรือเรื่องที่ต้องแสดงความคิดเห็นเป็นการส่วนรวม
สำหรับเด็กนิเทศศาสตร์ ของอาจารย์ น่าจะเป็นนศ.ศิลป์มากกว่านศ.วิทย์มั้งครับ ก็คุยไปเรื่อยก่อนเลยครับ

เวลาผมสอนนศ. IT ,บัญชี,การตลาด คุยกันแต่ในเนื้อหาหรือแนวการทำงานที่จะเกิดขึ้นจริง
แต่ถ้าเป็นนศ. ด้านศิลปะหรือนศ.ภาษา ก็คุยนอกเรื่อง แต่ใกล้ตัวเค้าประจำ แล้วค่อยมาเปรียบเทียบกับเนื้อหาวิชา

แต่ถ้าเป็น นร.ม.ปลาย ถ้าคุยนอกเรื่องเนื้อหาก็ชอบเลย แต่ต้องพาเข้าเนื้อหาเป็นพักๆเลย

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท