เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เสียงพยัญชนะ “ห” ในภาษาบาลี ไทย และจีน


ในภาษาบาลี เสียงพยัญชนะ “ห” ถ้ามีสระ “อี”ใน บทสวดจะเป็นเสียงต่ำ หรือ ออกเสียงเป็น“ฮ” เช่น “วิญญูหีติ” ออกเสียงเป็น “วิญญูฮีติ” ไม่ใช่ “วิญญูหีติ”

เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เสียงพยัญชนะ “ห” ในภาษาบาลี ไทย และจีน

 

เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เสียงพยัญชนะ “ห” ในภาษาบาลี ไทย และจีน

ดร. ถวิล  อรัญเวศ

      การออกเสียงพยัญชนะ “ห” ในภาษาบาลี จะต่าง
จากการออกเสียงในภาษาไทย และภาษาจีน

     กล่าวคือ ในภาษาบาลี  เสียงพยัญชนะ “ห” ถ้ามีสระ “อี”ใน

บทสวดจะเป็นเสียงต่ำ หรือ  ออกเสียงเป็น“ฮ”  เช่น 
“วิญญูหีติ” ออกเสียงเป็น “วิญญูฮีติ”  ไม่ใช่ “วิญญูหีติ”

ดังบทสวด


https://youtu.be/O8JTEaPQAyc

 


 

     ส่วนการออกเสียงพยัญชนะ

“ห” ในภาษาไทย และภาษาจีน

จะออกเป็นเสียงสูง ดังตัวอย่างใน

บทเพลง และบทลำ

 

 https://youtu.be/l4AFINV1GMg

 

https://youtu.be/UuwTNKqEBIk

 

 

https://youtu.be/lpNtR2mhcl8

 


https://youtu.be/EcoUDRFLF7g

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 711667เขียนเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2023 00:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2023 00:58 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

I think the pāli ห (ha) alphabet is voice like ‘ฮา’ in Thai with the voice coming straight from lungs through the throat - without any tongue, teeth or lip modifications. This ‘ha’ is also implicit in the ภา (bha) ธา (dha) ฐา (tha) ฉา (cha) and … voicing. It’s the Thai voicing that causes issues.

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท