การคัดกรองผู้ป่วย (Triage) เพื่อเข้ามารับบริการที่คลินิก ARI


สองวันนี้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากการลงหน้างาน ARI Clinic และเก็บข้อมูลตลอด 6 เดือนที่ผ่านมา... มีน่าสนใจหลายประเด็นเช่น

ภาพนี้สะท้อนให้เห็นถึง

- การแสดงข้อมูลผู้ป่วยที่มีอาการระบบทางเดินหายใจ (URI) และไม่มีอาการระบบทางเดินหายใจ(Non URI) ที่มาตรวจและรักษาที่คลินิก ARI (N = 1,014) จำแนกตามรายเดือน

ซึ่งอธิบายได้ว่า ในการคัดกรองผู้ป่วย (Triage) เพื่อเข้ามารับบริการที่คลินิก ARI ยังมีจุดอ่อนหรือช่องว่าง (gap) ของการแยกอาการและอาการแสดงได้ยังไม่ชัดเจน เพราะตามมาตราฐานของคลินิค คือ การตรวจและรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะการเจ็บป่วยในระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน (Acute Respiratory Infection) ซึ่งระยะเวลาไม่เกิน 4 สัปดาห์ และคัดกรองผู้ป่วยตามเกณฑ์ของการรับการตรวจและสอบสวนโรคตามเกณฑ์ Patient Under Investigation (PUI)

คงต้องครุ่นคิดต่อนะคะว่า เราจะแก้ไขหรือพัฒนาอะไรต่อจากข้อมูลที่ได้มานี้ และเรารู้จักใช้ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์วิจัยนี้เพื่อพัฒนางานมากน้อยแค่ไหน

#Noteความคิด

#การใช้ข้อมูลการวิจัยในการพัฒนางาน

คำสำคัญ (Tags): #km#r2r#ARI Clinic
หมายเลขบันทึก: 681834เขียนเมื่อ 9 กันยายน 2020 15:02 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 กันยายน 2020 15:06 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท