การปฏิบัติวิปัสสนา (สาย รูปนาม) ตอนที่ ๒


             ผู้ปฏิบัติจะต้องเชาใจให้ดว่า เวลารนี้กิเลฃสความต้องการ เข้าอาศยในเวลากำหนดนัน รหือเปล่า ถ้าความต้องการเข้าอาศัย การกำหนดนั้นก็ใช้ไม่ได้ เพราะการเจริญสติปัฎฐานนั้น ความสำคัญก็เพื่อทำลายอภิชฌาและโทมนัส

            ฉะนั้น ผุ้ปฏิบัติจะต้องมีความเข้าใจในข้อนี้ด้สย ถ้ากำหนดโดยอยากให้ทุกข์กายก็เป็นปัจจัยแก่อภิชฌา เพราะความอยากให้ทุกข์หายเป้นอภิชฌา ถ้าทุกข์ไม่หายก็เป็นโทมนัสจึงไม่ชื่อว่า การปฏิบัติอย่างนี้เป็นการเจริญสติปัฎฐาน

           เวลากำหนดอิริยาบถใดก็ตาม ต้องระมัดระวังไม่ให้บังคับตัวเองว่า ้องนั่ง ต้องนอน ต้องยือน ต้องเดินให้นาทเ่าทนั้นเท่านั้ ถ้าทำอย่างนั้นก็ไม่ถุกเหมือนกัน การเจริญสติปัฎฐานนั้น ห้ามการบังคับ ถ้าบังคับกาปฏิบัติก็เป็นอัตตา อัตตาจะตามไปในทุกอิริยาบถ การบังคับให้นั่งให้นอน ให้ยืน ใหเดิน เช่นนั้น ก็จะมีอัตตาคือ มี ะรา เข้าไปปนอยู่เรื่อย เพราะการบังคับ เป็นลักษณะของอัตตา คือ เห็นผิดว่าเราสามารถบังคับได้ การบังคับอบย่างนี้ทำให้วิปัสสนาเกิดไม่ได้วิปัสสนาต้องไม่มีการบังคับ ต้องแล้วแต่เหตุผลตามสมควรว่าต้องเปลี่ยนอิริยาบถเพราะเหตุใด ก็เปลี่ยนไปตามเหตุผลนั้น ไม่ใช่อยากเปลี่ยนจึงเปลี่ยน เช่นเมื่อเดินเมื่อยแล้ว อยากจะนั่ง ก็นั่ง นั่งแล้วเมื่อย อยากจะนอนก็นอน นอนแล้วเมือย อยากจะนั่ง อยากจะนอน อยากจะเดินก็เดินไป อย่างนี้ ความข้าใจเช่นนี้ไม่ครงต่อความเป้นจริง เพราะถึงจะไม่อยากนั่งก็ต้องนั่ง ไม่อยากนอนก็ต้องนอน ไม่อยากเดินก็ต้องเดินเพราะทุกข์บังคับให้ต้องทำนั่นเอง

         เมื่อทุกข์เกิดขึ้นใในอิริยาบถใดแล้ว ก้ต้องแก้ไขหรือเปลี่ยนไปเป็นอริยาบถอื่น ความจริงเป็นอยุ่อย่างนี้ ไม่ใช่นึกอยากจะนอนก็นอน หรือนึกอยากจะเดินก็เดิน การเปลี่ยนอริยาบถต้องรู้เหตุผล 

         ฉะนั้น ก่อนเปลี่ยนอิริยาบถ ผุ้ปกิบัติจะต้องพิจารณาเสียก่อนว่า เปลี่ยนอริยาบถ เรพาะเหตุใด เช่นนั่งอยู่เมื่อยแล้ว จึงลุกขึ้นเดิน การที่ลุกขึ้นเดินนั้น มนสิการอย่างไร เมืื่อทุกข์เกิดขชึ้นในรูปนั่งแล้ว ต้องมนสิการว่าจะเดินเืพ่แก้ทุกข์ ถ้ามไ่มนสิการอย่างนี้ ก็จะเข้าใจว่า รูปเดินเป็นสุข หรือถ้าเปลี่ยนจากเมื่อยมาเป็นนอ ถ้ามนสิการไม่ถูก ก็จะเห็นว่า รุปนอนเป้นสุข สุขวิปลาสก็เข้าอาศัยในรูปเดินหรือรูปนอน นั้นทันที

          ดังนั้น การเปลี่ยนอิริยาบถ จึงจำเป็นต้องรู้้เหตุผลของการเปลี่ยน คือจะต้องรู้ด้วยปัญญาว่า ที่จะเปลี่ยนอิริยาบถนั้น เพราะอะไร 

         ความจริงที่ต้องเปลี่ยนเพราะทุกข์เกิดขึ้น จึงทำให้ต้องเปลี่ยนอิริยาบถุ กำหนดอย่างนี้ จึงจะได้ความรู้ี่ถุกต้องตรงกับความเป็นจริง เพราะธรรมทั้งหลายย่อมไหลมาจากเหตุ ฉะนั้นการที่ต้องเปลี่ยนอิริยาบถ ก็จะต้องรู้วา เรพาะเหตุอะไรจึงต้องเปลี่ยน เพราะทุกข์เกิดขึ้นบับคั้นอริยาบถนั้นจึงต้องเปลี่ยน ถ้ารู้ทั่วไปหมดทุกอริยาบถเช่นนัี้แล้ว อิริยาบทเหล่านั้นก็ไม่สามารถจะปิดบังทุกข์ได้

         ถ้ากำหนดรู้ยังไม่หมด เช่น ตอนแรกที่กำหนดรูปนั่ง เมือทุกข์ความปวดเมื่อยเกิดขึ้นที่รูปนั่งนั้น ก็ทำให้เห็นทุกข์ในรูปนังแต่ทุกข์ในรูปนอนยังไม่เห็น เมื่อยังไม่เห็นก็ต้องสำคัญว่่า รูปนอนเป็นสุข ดังนั้น ด้วยอำนาจของทิฎฐิวิปลาสซึ่งสำคัญว่าเป็นสุข จึงเป้นปัจจัยแก่ตัณหา ให้ยินดีในรูปนอน อยากได้รูปนอน ตัณหาและทิฎฐิก็เข้าอาศัยในรูปนอนนั้น

         ฉะนั้นเวลานิน จึงให้กำหนดรูที่รูปนอนด้วย โดยตามไปดุว่า รูปนอน เป็นความสุขจริงอย่างที่เข้าใจหรือเปล่า  เมื่อตามดูรูปทีนอนแล้ว สักครู่เดียวเท่านั้น รูปนอนก็จะทุกข์ขึ้นมาอีก ความเข้าผิดที่ว่า รูปนอนเป็นสุขในตอนแรกก็จะหายไป และสุขวิปลาสนั้นหายไปด้วย แล้วก็จะเห็นทุกข์ในขณะนอนนั้นว่า แม้รูปนอนก็เป็นทุกข์เหมือนกัน ถ้าหากว่า ยังมีอริยาบถใดที่ยังไม่ได้ตามดูจนถี่ถ้วย ตัณหาและทิฎฐิก็ยังเข้าอาศัยในอิริยาบถนั้นได้ และความสำคัญว่า เป้นเราเป็นตัตนของเรา ก็ต้องเกิดขึ้นในอริยาบนั้นๆ เพราะฉะน้้น จึงต้องตามกำหนดดูทุกๆ รูปิริยาบถ ถ้าไม่ตามดุโดยถี่ถ้วยจริงๆ แล้ว ปัญญาก็เกิดไม่ได้

        เมื่อตามกำหนดไปทุกรูปอริยาบถจนหมดแล้ว ก็จะเห็นว่า รูปอิริยาบถทั้งเก่าและใหม่เป็นทุกข์ ที่ว่าจะต้องเป้ฯทุกขืในอริยาบถเก่าก่อนด้วยอำนาจของทุกขเวทนา เพราะฉะนั้นึงไม่จำกัดเวลาว่า ต้องนั่งหรือต้องเดินนานกี่นาที่หรือก่ี่ชั่วโมง เรพาะความสำคัญอยุ่ที่ต้องการจะรู้เหตุผล ถ้าพยายามตามรุ้เหตุผลนั้นแล้ว ก็อาจเปลี่ยนอิริยาบภายใน ๕ หรือ ๑๐ นาที ตามแต่เหตุผลที่จะต้องเปลี่ยน

          เมื่อสามารถกำหนดรู้เหตุผลได้บ่อยๆ ปัญญาก็ย่อมจะรู้ความจริงได้เร็ว เพราะว่าเมื่อดุมาก ก็เห็นมากและรู้มาก ผลที่เกิดอย่างนี้ ไม่จำเป็นต้องจำกัดเวลา เมื่อทุกข์เกิดขึ้นจึงต้องเปลี่ยน และก็ต้องรู้ด้วยว่า รูปอะไรเป็นทุกข์ รูปนั่ง  รูปนอน รูปยืน รูปเดิน นั้น ก็เพราะว่ าถ้าไม่กำหนดรู้อริยาบถนั้นๆ ว่า เป็นรูปอะไรแล้วก็จะไม่รู้ว่า ใครนั่ง ใครนอน ใครยืน ใครเดิน 

         เมื่อไม่รู้เช่นนี้ ก็ต้องสำคัญว่าเป็นเรานั่งเรานอน เรายืน เราเดิน และเมื่อทุกข์เกิดขึ้นในอริยาบถนั้นๆ ก็สำคัญว่าเรานั่ง เรานอน เรายืนเราเดิน และเมื่อทุกข์เกิดขึ้นในอริยาบถนั้นๆ ก็สำคัญ่าเราเป็นทุกข์ เอาเราซึ่งเป้นตัวอัตตวิปลาสออกไม่ได้ เพราะว่า เมื่อไม่รู้ว่านั่งเป็นรูป ก็ไม่รู้ว่าใครเป็นทุกข์ เมื่อมไ่รู้สึกว่า รูปเป็นทุกข์ ก้ต้องเข้าใจว่าเราเป็นทุกข์ อัตตวิปลาสก็ไม่ออก เพราะยังมีความสำคัญว่า เราเป้ฯทุกข์ คือยังไม่มีรุปใดนามใดแสดงว่า เป็นทุกข์ให้เห็นประจักษ์ชัดลงไป ก็ยังเอาอัตตวิปลาสออกไม่ได้

            เพราะเหตุนี้ การกำหนดอริยาบถทุกๆ อริยาบถ จึงต้องมีความรุ้สึกตัวว่า กำลังกำหนดรูปอะไรอยู่ ข้อนี้เป็นความสำคัญมาก มิฉะนั้น จะทำลายกิเลสความเห็นผิดว่าเป้นตัวตนออกไม่ได้

       - บางส่วนจาก จากวิปัสสนากัมมัฎฐาน สาย รูปนาม

หมายเลขบันทึก: 646412เขียนเมื่อ 12 เมษายน 2018 14:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 เมษายน 2018 14:54 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท