​ชีวิตที่พอเพียง : 3001. เรียนรู้การจัดการ transition ของ PMAC


มองโรคเรื้อรัง ไม่ติดต่อ ด้วยมุมมองใหม่

ชีวิตที่พอเพียง  : 3001. เรียนรู้การจัดการ transition ของ PMAC

เช้าวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ มีการประชุมคณะอนุกรรมการสารัตถะ (Content Subcommittee)  ของการประชุมวิชาการนานาชาติประจำปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล (PMAC) ประจำปี ๒๕๖๒    โดยที่คณะอนุกรรมการชุดนี้เป็นคนไทยทั้งหมด    เน้นแต่งตั้งคนรุ่นใหม่เข้ามาทำงาน   

ในทางยุทธศาสตร์ นี่คือเครื่องมือของการจัดการการส่งต่อภารกิจ จากทีมงานสูงอายุ สู่ทีมหนุ่มสาว

PMAC 2019 เป็นเรื่อง NCD ที่เป็น neglected disease   ไม่มีคนเชี่ยวชาญรอบด้าน    มีแต่คนจับทำเป็นส่วนๆ เช่น เบาหวาน  ความดันโลหิตสูง  อาหาร การออกกำลังกาย  

กรอบแนวคิดใหม่ มองการจัดการ NCD (primary prevention, secondary prevention) อย่างเป็นองค์รวม  ในอนาคต ๒๐ ปีข้างหน้า   

มี fragmentation ขององค์การระหว่างประเทศ ในการดำเนินการ NCD    2013 UN Interagency Taskforce (UNIAT) on NCD     UNAIDS 1997 เกิดหลังไทย ๕ ปี    เราตั้งคณะกรรมการร่วม ปี 1992 สมัยรัฐบาลอานันท์ 

แผนสุขภาพดีวิถีไทย ไม่เดิน   

Product ของ PMAC 2019 ที่คาดหวังคือ Global New Mindset for NCD Approach 

ดึงความร่วมมือของแชมเปี้ยนแต่ละด้าน

Social Empowerment to tackle NCD

นพ. จะเด็ด (สปสช.) ควรเอาใจใส่มิตรภาพบำบัด  คนไข้ช่วยคนไข้   ทำด้านสร้างเสริมสุขภาพด้วย 

การวิ่งมาราธอน สู่การทำธุรกิจออกกำลังกาย 

มี Global Alliance on NCD, Alliance of Champions on NCD

Healthy lifestyle for NCD prevention from individual vs social intervention  

NCD beyond healthcare  เช่น town planning เพื่อลด/ชลอ NCD

Multilateral Movement

Rethinking, changing paradigm on NCD 

วิจารณ์ พานิช

๒๖ ก.ค. ๖๐

 

หมายเลขบันทึก: 636211เขียนเมื่อ 9 กันยายน 2017 16:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 กันยายน 2017 16:08 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท