การจัดการเชิงคุณค่า (Value Management)


การบริหารจัดการคุณค่าจะอยู่ในรูปของหลักการระบุสิ่งที่สามารถวัดผลได้ เน้นไปที่วัตถุประสงค์ก่อนแนวทาง และพุ่งเป้าไปที่บทบาทหน้าที่ก่อนการสร้างสรรค์นวัตกรรม


ว่าด้วยเรื่องคุณค่านั้น ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยของความต้องการอย่างพึงพอใจ ความคาดหวัง และทรัพยากรที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่ความพึงพอใจกับความคาดหวังนั้น แต่การอยู่ร่วมกันเป็นสังคมหรือองค์กร ความพึงพอใจกับความคาดหวังจะมาจากหลายบุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสีย การบริหารจัดการคุณค่าจึงต้องตอบสนองต่อความสมดุลทั้งมิติของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ดังนั้น เป้าหมายของการบริหารจัดการคุณค่า ก็คือการพิจารณาทุกมุมองจากทุกฝ่ายเพื่อหาจุดสมดุลระหว่างความต้องการอย่างพึงพอใจและทรัพยากรที่จำเป็น อันจะนำไปสู่การจัดการเพื่อให้เกิดความยั่งยืนของสมดุลที่สร้างขึ้นต่อไป

การบริหารจัดการคุณค่าจะอยู่ในรูปของหลักการระบุสิ่งที่สามารถวัดผลได้ เน้นไปที่วัตถุประสงค์ก่อนแนวทาง และพุ่งเป้าไปที่บทบาทหน้าที่ก่อนการสร้างสรรค์นวัตกรรม

อ้างอิง : http://www.thanakrit.net/value-management

หมายเลขบันทึก: 630009เขียนเมื่อ 18 มิถุนายน 2017 22:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มิถุนายน 2017 22:00 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท