สอนรับรู้สึกนึกคิดจิตคุณค่า


ขอบพระคุณอ.น้องโหนกและนศ.ป.โท กายภาพบำบัด คณะสหเวชศาสตร์ ม.นเรศวร ที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้การสั่งจิตใต้สำนึกในการรับรู้สึกนึกคิดและสื่อสารสร้างสรรค์ทางการมองเห็น...ดวงตาคือหน้าต่างของหัวใจในคุณค่าแห่งการเพิ่มศักยภาพสมองสูวิสัยทัศน์ทางปัญญา...When you belief it, you will see it....ชื่นชม Reciprocal visual learning ของน้องวี น้องแนน น้องน้อต น้องกิ๊ฟ น้องสน และน้องดิม

นับเป็นครั้งแรกที่ผมได้บูรณาการกิจกรรมบำบัดจิตสังคม การฟื้นฟูสมรรถภาพการรู้คิดเน้นการประเมินและการฝึกการรับรู้ทางการมองเห็น และการสั่งจิตใต้สำนึก มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอด 3 ชม. แก่นศ.ปริญญาโทในหัวข้อ การควบคุมการเคลื่อนไหวเพื่อการรับรู้สุขภาพทางสมองและจิตใจ จึงได้ถอดบทเรียนโดยสรุปดังนี้

1. กิจกรรมตารางแปดช่อง ใช้มือข้างไม่ถนัดและหลับตาลากเส้นบนรอยพับกระดาษแปดช่องในกระดาษแนวนอน ทำให้เรียนรู้ลายเซ็นความสั่น ความไม่ตรง และความไม่สมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์การใช้สมองที่ไม่เท่ากันสองซีกรวมทั้งความไม่นิ่งของการทำงานของสมองและจิตใจ ตามระบบสรีรวิทยาทางจิตประสาทพัฒนาการและสหศาสตร์ข้ามสาขาดังนี้

  • Visual Perception (Behavioral Action)
    • Experiential Visual Learning 3 Dimension
    • Sequential Visual Learning 3 to 2 Dimension
      • Rt- Visual Learner ที่เรียนรู้ผ่าน Figures เพิ่ม Creativity
      • Lt – Visual Thinker ที่เรียนรู้เน้น Words, Numbers
    • Visual Memory ซึ่งถ้ามีความบกพร่องทางสมอง จะต้องฝึก Short term memory & Apraxia โดยเน้น Visual Recognition
    • Visual Cognition
    • Visual Emotion

2. กิจกรรมจ้องตา 2 นาที + เขียนความรู้สึกหลังจับมือพร้อมจ้องตาสื่อสารกัลยาณมิตร 1 นาที

  • Visual Attention & Intention ช่วยฟื้นฟูภาวะ Visual fatigue & Neglect ได้ และจัดการ Visual Emotion
  • Visual Communication
    • Positive Visual Intention (Capability Action)
    • Tactile Perception (Visual-Tactile Integration)
    • Emotional Coping Perception
    • Affective Subconscious (Neocortex + Limbic)
    • Power of NOW – Inspiration
      • Executive Function (Judgement)
      • Motor Planning – Motor control
      • Expectation & Performance Bundura
    • Visualization (Belief Action)
      • Visual Imagination – State Management ที่ควรเน้นการฝึกทักษะชีวิตผ่าน Life Situation Recovery (Cognitive Rehab/Science)

3. กิจกรรมลืมตาหลับตาจดจำเปลี่ยนหน้าตาของเพื่อน 5 รอบ เพิ่ม Visual Memory + Sequential Visual Learning เกิด Facial Recognition 32 มัดกล้ามเนื้อกว่า 120 หน้าตา ในการณีที่มีสมองบาดเจ็บ ก็จะเกิด Mask Face ถ้ามีพยาธิสภาพที่ Rt Brain มีแนวโน้ม Depression – Visual Emotion ควรศึกษาเพิ่ม Self-Awareness กับ Visual Imagination ข้างต้น ที่บูรณาการ motor + sensory + perception + cognition – focused attention ที่ควรทำการประเมินระดับ 0-1,000 Map of Consciousness [Acknowledgement of Citation at https://higherdensity.wordpress.com/]

4. กิจกรรมสาธิตการเพิ่มแรงบันดาลใจด้วยจิตใต้สำนึกของตนเองด้วยกระบวนการ Visual Accessing Cue (Neuro-Linguistic Programming, NLP) ในระดับ Belief + Spiritual (Vision) Action ที่ส่งเสริม Competency Flexibility Thinking & Good Judgement (Decision making + Problem solving skills)

Acknowledgement of Citation at http://www.psychicgloss.com/articles/5185

คลิกดาวน์โหลด PDF ที่ Full Text ตัวอย่างการบูรณาการการสั่งจิตใต้สำนึกกับกิจกรรมบำบัดจิตสังคมได้ที่นี่ ด้วยความขอบพระคุณ

หมายเลขบันทึก: 604098เขียนเมื่อ 26 มีนาคม 2016 19:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 26 มีนาคม 2016 19:11 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ขอบพระคุณมากครับอ.จันทวรรณ อ.ธวัชชัย และพี่โอ๋ ที่ผมรักและคิดถึงทุกท่านเสมอครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท