โครงงานวิทยาศาสตร์ปฐมวัย: การเรียนรู้แบบ backward design สังเกตการเติบโตของถั่วงอก


ต้นเทอมที่ผ่านมาคุณครูให้ลูกทำโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัยของ ป.2 ด้วยการทดลองปลูกถั่วงอกจากเมล็ดถั่วเขียวโดยเปรียบเทียบระหว่างรดน้ำกับไม่รดน้ำ

หากครูค้นหาเพิ่มเติมอีกหน่อยแล้วมาเจอคลิปนี้จะทำให้เด็กๆ เข้าใจและสนใจวิชาวิทยาศาสตร์ยิ่งขึ้นนะคะ เป็นลักษณะของ backward design คือไล่ย้อนรอยกลับไปให้เห็นว่าจากเมล็ดถั่ว ออกราก เกิดใบเลี้ยงคู่ แล้วมาเป็นต้นถั่วได้อย่างไร


หมายเลขบันทึก: 591744เขียนเมื่อ 28 มิถุนายน 2015 11:45 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 เมษายน 2016 18:53 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

เยี่ยมมากๆ ค่ะ เด็กๆ ได้ทำการทดลอง ทำจริง นะคะ

น่าสนใจมากค่ะ

ไปที่ Ipoh มาเลเซีย อาหารยอดนิยมที่หาได้จาก Google คือ ถั่วงอก ก็เลยไปหาทานจนได้

และอร่อยจริง กรอบ อ้วน หวาน เพื่อนที่นั่นบอกว่าเป็นเพราะน้ำที่ Ipoh มีคุณภาพดีค่ะ

เป็นพืชที่ปลูกง่าย..เติบโตเร็ว..ได้ใจผู้เรียนรู้จริงๆค่ะ...

เดี๋ยวนี้หาสื่อการเรียนรู้ได้ไม่ยาก ออกแบบกิจกรรมดีๆ เด็กๆ ได้ทั้งเรียนรู้ทั้งสนุก

ครูก็สนุกด้วย สอนน้อยๆ เรียนรู้เยอะๆ ดีกว่าสอนเยอะเรียนรู้น้อย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท