Archanwell
รศ.ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

​กรณีศึกษาสิทธิของคนต่างด้าวที่จะมีล่ามที่น่าเชื่อถือได้ในกระบวนการพิจารณาทางศาล : แม้เป็นคนต่างด้าวและพูดภาษาไทยไม่ได้ ศาลฎีกาใน ฎ.๑๐๔๔๙/๒๕๕๖ ก็ยืนยันถึงหน้าที่ที่รัฐไทยจะต้องมีล่ามที่น่าเชื่อถือได้เพื่อคนต่างด้าวที่เป็นจำเลยนคดีอาญาบนศาลไทย


กรณีศึกษาสิทธิของคนต่างด้าวที่จะมีล่ามที่น่าเชื่อถือได้ในกระบวนการพิจารณาทางศาล : แม้เป็นคนต่างด้าวและพูดภาษาไทยไม่ได้ ศาลฎีกาใน ฎ.๑๐๔๔๙/๒๕๕๖ ก็ยืนยันถึงหน้าที่ที่รัฐไทยจะต้องมีล่ามที่น่าเชื่อถือได้เพื่อคนต่างด้าวที่เป็นจำเลยนคดีอาญาบนศาลไทย

-------------------------------------------------------------------------

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10449/2556

พนักงานอัยการจังหวัดตราด โจทก์

นางมาลี สิงหพันธ์ กับพวก จำเลย

ป.วิ.อ. มาตรา 13, 208(2), 225

ผู้เสียหายทั้งสามเป็นคนต่างด้าวเบิกความโดยไม่ปรากฏว่าล่ามได้สาบานหรือปฏิญาณตนแล้ว และไม่ปรากฏว่าผู้ที่ลงลายมือชื่อในคำให้การพยานในฐานะล่ามนั้นเป็นใคร การสืบพยานปากผู้เสียหายทั้งสามจึงเป็นการฝ่าฝืน ป.วิ.อ. มาตรา 13 ชอบที่จะต้องเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบดังกล่าว และย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นสืบพยานโจทก์ปากผู้เสียหายทั้งสามและพิพากษาใหม่ให้ถูกต้องตาม ป.วิ.อ. มาตรา 208 (2) ประกอบมาตรา 225

________________________________

( วรงค์พร จิระภาค - วิรุฬห์ แสงเทียน - ฉัตรไชย จันทร์พรายศรี )

ศาลจังหวัดตราด - นางสาวจิรารส พร้อมปริศนา

ศาลอุทธรณ์ภาค 2 - นายจรัญ เนาวพนานนท์

หมายเลขบันทึก: 583318เขียนเมื่อ 1 มกราคม 2015 08:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 1 มกราคม 2015 08:53 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท