AAR (การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21)


วิชาการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้รหัสวิชา 102611ผู้สอน ผู้ช่วยศาตราจารย์ดร. อดิศรเนาวนนท์

โดยMiss Xiaomin Liรหัสนักศึกษา 57D0103101ระดับปริญญาโท ภาคพิเศษสาขาหลักสูตรและการสอน

AAR (การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21)

มีคนบอกว่าครูก็แค่พูดหน้าห้องเรียนให้นักเรียนฟัง ประสบการณ์ และให้นักเรียนทำตามสิ่งที่บอก นั้นคือรูปแบบการสอนแบบเก่า แต่ในโลกปัจจุบันนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้หลายทาง ครูจึงจำเป็นต้องพัฒนาตนเองและเทคนิการสอนให้ไปตามความต้องการของโลก Product นักเรียนที่มีคุณภาพและมีความสามารถในการประกอบอาชีพถึกเป็นประเด็นสำคัญในการจักการเรียนการสอน นักเรียนมีความรู้ ทฤษฏีอย่างเดี่ยวไม่สามารถออกไปเข็ม กับความต้องของสังคม รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้นให้นักเรียนได้ฝึกฝน ปฏิบัติ เรียนรู้จากประสบการณ์ การจัดการเรียนการสอนจะต้องมีหลักสูตร curriculum และเทคนิการจัดการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนมีทักษะ

① หลักสูตร curriculum คือ แผนประสบการณเรียนรู้ของผู้เรียนระบบที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรกระบวนการจัดการบุคคลและกระบวนนำระบบไปใช้สาขาวิชา เนื้อหาวิชา

② ทักษะ 5C 1). Creative problem solving skills (ทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ) นักเรียนมีความสามารถและชำนาญในการสร้างความรู้วิธีการใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ เพื่อเป็นแนวทางและเครื่องมือแก้ปัญหา ให้เป็น Innovator 2). Critical thinking skills ทักษะการคิดอย่างมีวิจารญาณ มีความรถในการคิดไตร่ตรองคิดเชิงวิพากษ์ เพื่อจะทำหรือเชื่อในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเมื่อมีประเด็นข้อแย้งargument หรือพัฒนาให้คนไทยเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณ critical thinker 3).collaborative skills ทักษะการร่วมมือร่วมพลัง มีความสมารถทำงานเป็นทีม เป็นกลุ่มเรียนรู้ประสบการย์การทำงานเป็นทีม เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันและเก็ดความสุขในการทำงาน 4). Communicativeskills ทักษะสื่อสาร มีความสมารถในการสื่อสาร มีทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียนอย่างมีคุณภาพ 5).computing skills ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ มีความสามารถในการใช้เทคโลโนยีสารสเทศ อย่างมีคุณภาพ



แผนผังลำดับงาน: เทปเจาะรู: วิธีและเทคนิดการสอน



 From 5 steps to 21st century skills

ความสามารถพื้นฐานเบื้องต้นสาคัญที่ใช้ในการเรียนรู้ 3 ด้าน คือ ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ด้านคานวณ (Numeracy) และ ด้านเหตุผล (Reasoning ability)



กล่องข้อความ: teaching centered and child centered มี 3p เหมือนกัน ความแตกต่างตรงที่ child centered เน้นนักเรียนทุกคนเป็นศูนย์ นักเรียนรู้ด้วย learning by doing เรียนรู้ด้วยการปฏีบัตจริง ครูเป็นผู้อำ นวยความสะดวกและดูแลนักเรียนในการปฏีบัตงานให้คำปรึกษา


ม้วนกระดาษแนวนอน: การสอนแบบวิธีนิรนัย






กล่องข้อความ: 1. วิธีสอน 1.1 วิธีสอนแบบสืบสอบ 1.2 วิธีสอนแบบโครงการ 1.3 วิธีสอนแบบอุปนัย 2. รูปแบบการสอน 2.1 รูปแบบการเรียนรู้CIPPA 2.2 รูปแบบการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน 2.3 รูปแบบการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน 2.4 รูปแบบการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน






กลยุทธ์การเรียนการสอนที่ใช้เสริมสร้างผลกรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

1.วิธีสอน

1.1วิธีสอนแบบสืบสอบ

1.2วิธีสอนแบบโครงการ

1.3วิธีสอนแบบอุปนัย

2.รูปแบบการสอน

2.1รูปแบบการเรียนรู้CIPPA

2.2รูปแบบการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน

2.3รูปแบบการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน

2.4รูปแบบการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน

3.แนวการสอน

3.1กากการเรียนรู้เน้นเด็กเป็นศูนย์กลางPBL

3.2การเรียนรู้ใช้โครงการเป็นฐาน BBL

3.3การเรียนรู้ใช้ปัญหาเป็นฐานRBL

3.4การเรียนรู้ใช้วิจัยเป็นฐานRBL

3.5การเรียนรู้ใช้แหล่าข้อมูลเป็นฐานRBL

3.6การเรียนรู้ใช้กิจกรรมเป็นฐาน

3.7การเรียนรู้ใช้สถานการณ์จำลองเป็นฐาน

3.8การเรียนรู้ใช้ประเด็นสังคมเป็นฐาน

3.9การเรียนรู้ใช้ประเด็นสังคมเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์เป็นฐาน

3.10กระบวกการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน

4.เทคนิการสอน

4.1เทคนิการใช้คำถาม

4.2เทคนิการเรียนรู้แบบร่วมมือ

4.3เทคนิการเรียนรู้เสริมสร้างพหุปัญญา

4.4เทคนิการใช้ผังกราฟิก

4.5เทคนิเพื่อนช่วยเพื่อน

4.6เทคนิหมวก 6ใบของเดอโบโน


หมายเลขบันทึก: 580143เขียนเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2014 14:14 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2014 14:17 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท