Blog on...


Blog on...

I came to Gotoknow today, I couldn't miss many blogs on
มารยาทในการใช้คอมพิวเตอร์

and many more on
พระราชบัญญัติในการใช้คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติแห่งคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฏหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ. ว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และประเภทต่างๆ
พระราชบัญญัติการใช้คอมพิวเตอร์ 2550
พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ทุกคนที่ใช้คอมพิวเตอร์ต้องรู้
พระราชบัญญติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550

Out of curiosity and having a little time at hand, I looked up the Royal Thai Institute Dictionary and noted

อาชญากรรม : [อาดยากำ, อาดชะยากำ] น. การกระทำความผิดทางอาญา.
อาญา : น. อำนาจ; โทษ (มักใช้สำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย) เช่น พระราชอาญา. ( ป. อาณา; ส. อาชฺา); (กฎ) คดีที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดตามกฎหมายอาญา เรียกว่า คดีอาญา แตกต่างกับคดีที่ฟ้องร้องเกี่ยวกับสิทธิส่วนเอกชน ซึ่งเรียกว่า คดีแพ่ง.

Then I wondered if the legislation only deals with criminal actions, so I looked deeper. The Act describes:

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
I wondered if the Act should be called in so many different ways. Would it not be better to call it 'one single name' to avoid confusion and wasting clarification time.

I read further and found
มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(๑) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์
อันเป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(๒) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
(๓) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑)(๒) (๓) หรือ (๔)

มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๑๔

These two clauses clearly say "no lie, no malice, no porn and no national security materials" from either bloggers (or users) and Gotoknow.org (service provider).

Further down I noted this clause
มาตรา ๑๖ ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏ เป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทำไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายในความผิด ตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือ บุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย
and I wondered if pictures and graphics of people, places and so on posted so far on Gotoknow may give rise to "ที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย" at one time or another.

There is no time limit or 'sunset clause' on any offence! When we consider digital data as 'long lasting' (almost eternal as long as we have electricity), what we write and pictures we post may be a time bomb ticking on and on. This includes everything we post on webs (Facebook, Twitter, Instagram, Line, ....). That is everthing everywhere and forever!

Then I read
มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอำนาจรับคำร้องทุกข์หรือรับคำกล่าวโทษ และมีอำนาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในการจับ ควบคุม ค้น การทำสำนวนสอบสวนและดำเนินคดีผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เป็นอำนาจของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ หรือพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไป ให้นายกรัฐมนตรีในฐานะผู้กำกับดูแลสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และรัฐมนตรีมีอำนาจ ร่วมกันกำหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติในการดำเนินการตามวรรคสอง
And I wondered about the meanings of
ผู้ใด (any person)
พนักงานเจ้าหน้าที่ (officer)
ศาล (court)
The not-so-obvious thought is that a 'court' may consist of 'officers' who in turn are 'persons' (of any person); they are all capable of making any of the offences in this Act and there is no clause outlining ways to deal with offending officers and courts (intentionally or not).

The last clause made me wondered
มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจำตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
How do officers work online? Do they present digital id to users and service providers when they look at our blogs 'while they are working'? Do websites have a way to request 'officers' digital ids and (to be fair) to warn users and their webmasters of 'officers' interest? Should websites and users be notified by other means? Before or during investigation; or after prosecution decision?

I tried to look up data on "enforcement of this Act" (such as number of court cases under this Act since it became law; number of cases investigated; and some categories of offences), but I couldn't find much. Apart from 2 cases reported in newspapers. So I suppose, we should keep on blogging until we see a warning sign!
;-)

หมายเลขบันทึก: 574140เขียนเมื่อ 9 สิงหาคม 2014 06:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 10 สิงหาคม 2014 01:30 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

typical Thai law that often try to cover all in one...

K.sr, have you ever read the standard form of วัตถุที่ประสงค์ทั่วไป 

when applying for จดทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท ?

Thanks Dr. Ple โอ๋-อโณ and rojfitness 

1) I too like the phrase "I didn't mean [to do] it". But I think, to advance our society we must also try our hardest not to harm with best intention. ;-)

2) It is a problem for lawmakers: how to make laws work in general, fair and just for all. If laws are too specific then [smart] people find [smart] ways to go around leaving most [ordinary] people complying [neither fair nor just] laws. If laws are all compassing then again [smart] people can find [smart] ways to use laws to harm other [ordinary] people by [definitely not fair nor just] laws.

My main point in Blog on... is deviously hidden ;-). I was commenting on a lot of students' blogs on a law. They report 'mechanically' without attempting further or in dept analysis of the law. I am asking too much to students to give some thought to what they write. Teachers are equally instrumental in raising the 'quality bar' -- when teachers don't -- well then?

3) No K. rojfitness. I have not read the 'examples' of วัตถุที่ประสงค์ทั่วไป (when applying for จดทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท) in details. As I understand it shows a simple way [for people] to trgister a business [entity] and [for government to collect] a tax [id]. I think we can delete and change clauses to fit our business. The registration staff would be quite happy to see the 'same form' (with amendments) but not a 'new document' for the same purpose.

We can't expect public servants to be 'all' capabable of handling 'varieties'(or diversities) and remain 'efficient' by their (super-efficient) supervisors. Corruption of National Development?

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท