บทสาขาที่ 4.6 เรื่องเ พลงมีอิทธิพลต่อร่างกายและเชาวน์สุขภาพของปัจจัยทางจิตวิทยาและสังคม


สุขภาวะในสภาวะสุขทางดนตรี

 

 ปัญหาเชาวน์สุขภาพด้านเพลง The quotient song health

 

เมื่อพิจารณานักดนตรีชราอย่างกระผม กับโอกาสที่จะเป็นนักดนตรีผู้ครองฝีมือไว้และแฟนคลับของกระผมอาจมากกว่าหรือน้อยกว่าในเรื่องราวดนตรีของกระผมที่มีก่อนแล้วคือนักวิชาการวิจัยสุขภาพนั้น ย่อมมีความชอบตามวัฒนธรรมสมัย Culture และมีความถนัดแนวเพลงในกระบวนแบบต่างกัน เช่น Jazz Rock  Pop Classic หรือแนวเพลงหน้าพาทย์ เพลงประกอบกริยา เพลงเรื่อง เพลงตับ เพลงเถา รวมทั้งเพลงปฏิภาค ควรตั้งเแบบวิธีสอบถามวิจัยเพื่อตรวจสอบด้วยวิธีการในแง่ดีจากกลุ่มคอยดูอนาคตสุขภาพของพวกศิลปินดังกล่าว จากทัศนคติในแง่ลบ พบผ่านการวิจัยแล้ว ได้แสดงให้เห็นว่านักดนตรีและผู้รักดนตรี มีแนวโน้มที่จะปรับทัศนคติเพื่อสุขภาพได้ เช่น ในกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษมบันฑิต ได้กรอกแบบสอบถามกับรายการปัญหาเรื่อง “ดนตรีกับเชาวน์สุขภาพ”จากผู้ดำเนินรายการเป็นด้วยประเมินการส่วนต้ว วิชาที่ถูกถามมีความเสี่ยงต่อตนเองและต่อกลุ่มการพัฒนาความสัมพันธ์กับปัญหานักเรียนคนอื่น ที่มีทัศนคติไม่ตรงกัน เพศเดียวกัน ต่างวัย เพศต่างกัน และเพศรวมกัน ในมหาวิทยาลัยโดยใช้ปัญหา สามข้อได้แก่

 

(1) โรคปอด

(2) โรคพิษสุราเรื้อรังที่มีในสังคมบันเทิง

(3) โรคเอดส์

 

 ข้อแต่ละข้อวัดเกณท์ขนาดตั้งแต่จุดต่ำกว่าค่าเฉลี่ยจนถึงสูงกว่าค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาในมหาวิทยาลัยเกษมบันฑิต เชื่อในกลุ่มการบันทิงคือกลุ่มที่เป็นนักดนตรี ที่จะต้องมีโอกาสติดโรคมากกว่ากลุ่มที่รักษาสุขภาพมีการสนับสนุนด้านเชาวน์สุขภาพเพลง และดนตรี ได้ทำการการบันทึกไว้

 

สาเหตุการเป็นนักดนตรีแล้วต้องมีโรคประจำตัว คือ

 

  1. โรคพิษสุราเรื้อรัง ในการบันเทิงรูปใดย่อมมีสุราเป็นหลักเพื่อการหรรษามีสารเสพติดชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากการผสมหมักจากผลไม้ ข้าวเหนียว เมล็ดพืชในเครื่องดื่มมีส่วนผสมแอลกออฮอล์แล้วแต่งกลิ่นเมื่อดื่มมากเกินไปย่อมทำให้ขาดสติจนเกิดเหตุอุบัติขึ้น เมื่อดื่มเป็นระยะเวลานานย่อมเกิดโรคพิษสุราเรื้อรัง (ฟังคำบรรยายจากแพทย์) เพราะผู้ดำเนินการไม่มีความรู้วิธีรักษา

 

  1. โรคเอดส์คืออะไร  เอดส์ หรือ AIDS (Acquired Immuno Deficiency Syndrome)  คือ อาการของความเจ็บป่วยที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอดส์ หรือ เอชไอวี (HIV) ทำให้ร่างกายอ่อนแอลงเนื่องจากภูมิคุ้มกันต่ำหรือบกพร่อง ผู้ป่วยเอดส์อาจมีอาการได้มากมายหลายอย่าง เช่น เป็นไข้ ผื่นขึ้นตามตัว  การลุกลามของโรคเริม ปอดอักเสบ ท้องเสียเรื้อรัง ผอมลงและน้ำหนัดตัวลงอย่างรวดเร็ว โรคเอดส์เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงโรคหนึ่งทางเพศสัมพันธุ์ ผู้ติดเชื้อเอดส์ทุกรายจะเสียชีวิตในเวลาไม่นานนัก ปัจจุบันยังไม่มียาใดๆรักษาโรคเอดส์ให้หายขาดได้และยังไม่มีวัคซีนที่จะใข้ป้องกันโรคเอดส์อย่างได้ผล เมื่อไวรัสเอดส์เข้าสู่ร่างกาย จะมีระยะฟักตัว เพื่อเพิ่มสมาชิกไวรัสระยะหนึ่งจากนั้นเมื่อไวรัสแข็งแรงแล้วก็จะทำการแพร่กระจาย(ฟังคำบรรยายจากแพทย์) เพราะผู้ดำเนินการไม่มีความรู้วิธีรักษา

 

  1. โรคปอด (ฟังคำบรรยายจากแพทย์) เพราะผู้ดำเนินการไม่มีความรู้

 

“ทำรายงานเรื่องโรคพิษสุราเรื้อรังกับโรคเอดส์และโรคปอดเกี่ยวกับบุหรี่ที่เกี่ยวข้องกับสถานบันเทิง”

 

สรุปการวิจัย……………………………………………………………………..

 

ขณะพวกที่เริ่มมีปัญหากับการป่วยด้วยโรคพิษสุราเรื้อรังกับโรคเอดส์และโรคปอดนี้ เชื่อว่า มีความอ่อนแอมากขึ้นกว่านักศึกษาคนอื่นๆ ถึงแม้เป็นโรคเพียงแค่หนึ่งของปัญหาสุขภาพ การศึกษาผลจากไวน์สไตน์ (1987) ได้ใช้คำถามคล้ายกับผู้ดำเนินการ ในการสำรวจบุคคลดังกล่าวที่มีอายุ 18 - 65 ปี ผู้ดำเนินการได้ศึกษาต่อประชากรบันเทิงทั่วไป  ประชากรติดโรคดังกล่าวนี้ยังจะเชื่อว่ามีโอกาสน้อยในการพัฒนาเรื่องปัญหาสุขภาพคือรู้สึกว่าหายยาก เมื่อเทียบอนาคตบุคคลอื่นกับอายุเพศของตัวเองที่ต่างระดับฐานะของโรค และอีกกลุ่มไม่เชื่อว่าอ่อนแอมากขึ้นกว่าคนอื่นๆ คือพวกมีกำลังใจต่อสู้กับโรคที่เป็นอันเป็นอุปสรรคต่อการทำใจ ของปัญหาที่เกิดขึ้นคิดได้ว่ามันคืออะไรมาจากไหน ประเมินคิดของผู้คนกลุ่มนี้ทำให้พวกเขาคิดในแง่ดี เพื่อการศึกษาครั้งนี้พบว่า ปัจจัยสี่ของการประกอบดำเนินชีวิต ย่อมมีผลต่อความรู้และความเข้าใจของผู้คนในแง่ดีคือ

 

  1. หากปัญหายังไม่ปรากฏในเรื่องอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ยกเว้นจากความเสี่ยงในอนาคต ความหมายคือ ถ้าอาการของโรคพิษสุราเรื้อรังกับโรคเอดส์และโรคปอดยังไม่ปรากฏผล ให้ ลด ละ เลิก

 

  2. การรับรู้ว่าปัญหาที่สามารถป้องกันโรคได้เช่นพิษสุราเรื้อรังควรห่างสถานเริงรมณ์ประเภทมั่วสุมใช้ถุงยางอนามัยป้องกันโรคเอดส์ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ แต่ทั้งนี้และทั้งนั้นขึ้นอยู่กับการกระทำของแต่ละบุคคล

 

  1.  การรับรู้ที่เป็นอันตรายไม่บ่อยนักเช่นการยั้งคิด การระวังตัว
  2.  ขาดประสบการณ์ ถ้ามีคนลักษณะดังกล่าวมาชักจูง โน้มน้าว ท้าประลอง สรุปได้ว่ามีความเสี่ยงของตัวเองและ น้อยกว่าความเสี่ยงขณะพวกดังกล่าวกำลังเผชิญอยู่

 

อ้างอิงข้อเสนอแนะ

 

 สำหรับประเภทเพลงที่ทำให้ประสบปัญหาด้านสุขภาพเกิดขึ้นนั้น ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อความเสี่ยงให้กับเชาวน์ส่งเสริมบุคลิกภาพ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างบุคคลกับบุคคล หรือหนึ่งต่อการเทียบกับบุคคลอื่นๆ บางคนยังคิดถึงด้านดี เกี่ยวกับเพลงเพื่อสุขภาพของบุคคลนั้นที่กำลังป่วยเมื่อถูกอารมณ์เพลงกล่อมเกลา อาการเจ็บป่วยมีความชัดเจนจนเด่นชัดย่อมถูกระบายออก ตามข้อคิดของผู้ดำเนินการเช่นพบว่า นักดนตรีศึกษา ซึ่งกำลังรอการรักษาฟื้นฟูเชาวน์สุขภาพ ที่รับมาจากอารมณ์เพลงกำลังอยู่ที่ศูนย์สุขภาพนั้น มีนักศึกษาวิชาดนตรีจิตวิทยารวมอยู่ด้วย เมื่อคิดในแง่ดีเกี่ยวกับเชาวน์บุคลิกภาพ ได้แสดงออกทางอารมณ์ดนตรีสุนทรีย์ต่อเนื่องถึงอนาคตของพวกเขานั้น มีมากกว่าเป็นนักศึกษาที่ดีต่อสุขภาพเพียงแค่ในหลักสูตรจิตวิทยาส่วนการศึกษาได้ดำเนินการกับนักศึกษาไปตามคาบ

 

ด้านตามสถานบันเทิงที่มีดนตรีบรรเลงเล่นเช่นมีการแสดงองค์ประกอบเรื่องรามเกียรต์ รีวิววัฒนธรรมไทยแท้และปนผสม มโนราห์ เพลงเชิญผีฟ้า รวมทั้งดนตรีแนวหลากหลายในแบบวัฒนธรรมไทย ผลเพียงหลังจากเศรษฐกิจการเมืองทำให้ทยอยการทรุดตัวลง ผลทำให้เกิดหางานทำยากขึ้น เพราะตำแหน่งทับซ้อน ปัญหาต่ออาชีพของพวกเขาย่อมตามมา ประกอบกับแนวเพลงบางประเภททางตะวันตกสร้างรูปแบบแนวเพลงสมัยนิยมใหม่ๆ เพื่อให้ทันเวลาความต้องการของชนมวลโลกรุ่นใหม่ ต้องลงทุนด้านอุปกรณ์เทคโนโลยี่รวมถึงเสื้อผ้าเครื่องสำอางค์ แม้ว่าศิลปินกลุ่มมีโอกาสน้อยกว่าวงอื่น  สภาพขัดสนอาจเกิดอาการเครียด หรือได้รับบาดเจ็บจากสื่อทางอารมณ์เช่นข่าวฆาตกรรม ข่าวที่ไม่ควรเกิดขึ้นในสังคมโดนแย่งชิงผลงานจากการหมดสัญญาจ้างงานจนเกิดเชาวน์สุขภาพบกพร่อง   

 

โรคเชาวน์สุขภาพเสื่อม

 

 บุคลิกภาพมีอาการทรุดโทรมเสื่อมภาวะการเป็นผู้นำในตน ลุกลามจนอุบัติเหตุอย่างเท่าเทียมกัน แนวโน้มที่จะเป็นโรค เชาวน์สุขภาพเสื่อม มีโอกาสเป็นมากกว่าสมาชิกในวงดนตรี หรือมีอาการทั้งวงอาจประสบผลความเจ็บป่วยทางจิต นักดนตรีในอดีตคงได้เผชิญกับภัยคุกคามประเภทนี้อย่างแท้จริง แสดงให้เห็นแง่ร้ายต่อการแสดงอารมณ์สำแดงออกเป็นบุคลิกภาพเกี่ยวกับสุขภาพของพวกเขา

 

สำหรับนักศึกษาดนตรีวัยรุ่นระบุว่า ความรู้สึกอย่างแน่นเหนียวต่อการรับอารมณ์เพลงอย่างไม่ยอมเปลี่ยน เป็นคุณลักษณะของวัยรุ่นเฉพาะกลุ่มอย่างชัดเจน แต่เป็นความเชื่อเฉพาะกลุ่มของบทบาทอารมณ์เพลงนั้น เข่นเพลงที่ชอบไปตามสมัยวัย ย่อมมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอารมณ์ เช่นเสียงเพลงที่ดังเกินพิกัด คำร้องรุนแรง กัก ขระ หยาบคาย ก้าวร้าวทางเพศและความเชื่อของพวกเขาไม่เคยศึกษาถึงความสำคัญทางตรรกะว่าเกิดผลดีหรือร้ายเพียงแค่ชอบอย่างไม่มีเหตุผล ถูกต้องตามทัศนคติตนอย่างเดียว นำดนตรีแนวนั้นมาเลียนแบบเพราะพวกฝึกพฤติกรรมดนตรีที่ให้ผลร้ายต่อสุขภาพมีแนวโน้มให้รู้สึกว่าพวกเขาได้สืบสานแนวเพลงวีรกรรม ย่อมเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับเชาวน์อารมณ์

 

                                                                                                         

 

                                                                                                                     ณัฐนพ มนูอินทาภิรัต

 

หมายเลขบันทึก: 563931เขียนเมื่อ 15 มีนาคม 2014 14:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 31 มีนาคม 2014 22:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เรื่องสุขภาพเป็นเรื่องสำคัญ นะคะ ....

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท