เด็กสามหมอก
นาย ธี เด็กสามหมอก ยอดดอยแม่ฮ่องสอน

เงินเต็มถัง (กระบุง) ข้าวไม่เต็มถัง (กระบุง)


เงินเต็มถัง (กระบุง) ข้าวไม่เต็มถัง (กระบุง)

เจ๊ะ ปแก กื้อ บือ เตอะ ปแก กื้อ

เงินเต็มถัง (กระบุง) ข้าวไม่เต็มถัง (กระบุง)

            นี่ก็เป็นอีกสุภาษิตหนึ่งที่ตอกย้ำถึงความสำคัญของข้าว เมื่อถึงเวลาที่ข้าวยากหมากแพง ข้าวกับเงินนั้นต้องแลกด้วยปริมาณที่เท่ากัน นั่นคือข้าวหนึ่งลิตร ข้าวก็ต้องหนึ่งลิตรหรือมากกว่านั้น คือ เงินหนึ่งลิตรแต่อาจจะได้ข้าวไม่ถึงลิตรด้วยซ้ำ หรือเมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปคนก็จะให้ความสำคัญแก่เงินทอง มากกว่าให้ความสำคัญแก่ข้าว (การทำไร่ทำนา) แต่เดิมคนในสังคมต่างก็ให้ความสำคัญกับการทำไร่ไถนาข้าวเป็นสิ่งสำคัญ แต่เวลานี้ไม่ใช่แล้ว ชาวนากลายเป็นคนชั้นต่ำของสังคม



หมายเลขบันทึก: 554660เขียนเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2013 08:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2013 08:13 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

แฝงแง่คิดอย่างลึกซึ้งครับ ผมเข้าใจว่าเขาสอน ความสำคัญที่แท้จริงของข้าว ผู้ปลูกหรือผู้ผลิตถือว่ามีค่ามาก เพราะเป็นของต้องกินต้องใช้ ถ้ามาเทียบค่าเงินเช่นพ่อค้ามาตีราคา เขาไม่ได้กำหนดได้เอง คนกินที่ปลายทางต่างหากเป็นผู้กำหนด เมื่อวันหนึ่งมีน้อย คนปลูกก็แบ่งขายให้น้อย เพราะตัวเองต้องกันไว้กินเองด้วย ถึงตอนนั้นเอาเงินมาให้มากเท่าใด ก็ไม่อาจหาข้าวมาให้มากๆได้ คนทำนายังสำคัญเช่นเดิมครับ แต่คนพยายามทำให้ต่ำ แท้จริงชาวนามีจิตใจอิสระ สันโดษ รู้จักประมาณ และทุกข์ร้อนน้อยกว่า คนในเมืองมากมายนัก

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท