Human Language, Dharma Language (Bhasa Khon Bhasa Dharma)


 

Introduction

 

Buddhadasa Bhikkhu is the famous Buddhist scholar in Thailand. He is the great contemporary reformist of Buddhism in history of Siam. He interprets the doctrine of Theravada Buddhism and religious practice of Thai Buddhism by analysis and reasoning which result from the development of science and the growing of the middle class of Thai society. The printing of the mode of books “Dhammaghosa” or the propagation of Buddha’s teachings which conclude his lectures more than 50 books which can accept that being the works of Theravada Buddhist thinker are greatest in history of Thai Buddhism. Donald K. Swearer, a American scholar who expert in Buddhism have evaluated the role and status of Buddhadasa Bhikkhu in history of Theravada Buddhism that his concept is the pattern and most influence begin from Buddhaghosa the great commentator, and evaluated the role of Buddhadasa equal with the great Indian Buddhist thinker as Nagarjuna.

 

     Other than work of Dhammaghosa, another well-known works of Buddhadasa Bhikkhu are “Manual of Mankind", “Essence of Buddhism”, “Following of Noble Person” “Mountain of the Way of Buddhadhamma”, “Normal Language and Transcendent Language” and so on. His many works were translated into foreign language such as English, France, German, Chinese, Japan, Lao, Sri Lankan, Tibet. The works which translate into English were printed more than 20 titles (Amnuey Yasyotha : 2546, p. 13)

 

On the other hand, he had begin the teaching which is called “Dhamma Lecture” with “normal language” which is the “language” that is thought by him for affection of Truth as was called “Suenmok words” example Me-and-Mine (Teuku-Khongku), Enlightenment, Attachment. Hence his old name is “Ngeaum” which is changed into a new name “Buddhadasa” means to motivate for giving himself to be the slave of Buddha.  His works are teaching or writing which full of lingual wisdom that is ability in creation of new words or group of word including to bring it for explanation and to give the new meaning to well-known words. Otherwise it still present religious wisdom which can apply the technique of communication and apply religious teaching, faith and valuable ancient ritual for comfortable to practice and giving the good result to man and environment in the contemporary society as well. The presentation of concept “Normal Language and Transcendent Language” for using of explanation of Buddhist teaching is the method of Buddhadasa’s propagation of Dhamma especially. It is strategy or wisdom in to cultivate Buddhists on Buddha’s teaching automatically like the Buddhist scholars in the past have done the concept of language as “Normal Language and Transcendent Language”. The reading of religious books or listening of Buddhist teaching often have many difficult words because it composes the Pali language and words which relate to abstract condition. It is obstacle to obtain and understand the religious doctrine for the new learner. Otherwise language and religious words still have many classes and it can be interpret so many way according to the basic of learner. Whatsoever there are many religious words which the learner of Dhamma often misunderstand because they mix it with the meaning which is used generally.

 

 “I have realized that what title I will speech, at last I think that the title which most of you don’t understand profoundly truth which was often explained, listened in many time, but didn’t understand it, and suspect that why we don’t understand, I think and realize still find that because most of people know only normal language which people often speech or it is called worldly language , does not understand transcendent language and never think that there is another language which differ and most opposite the normal language”

 

 

 

Buddhadasa have wrote the Buddhist scriptures which emphasized the problem about language correctly. He have presented the concept “normal language and transcendent language” for pointing the difference of understanding in two levels of language or the religious words. Especially, in the level of material and abstract, he explain “The normal language is in the way of material world which is the feeling way of normal person and depend on matter, does not have the truth as fundamental. It talks only the worldly words, it talks only things which can see by eyes of normal person. But the transcendent language is the abstract way of word which we cannot see, does not depend on material world, because it see the abstract state by wisdom, it talk correctly and give the correct meaning. It is spoke only in the dharma Wiseman. This is transcendent language, abstract language which is beyond the material world” (Buddhadasa Bhikkhu, 2537, p.11). He give the word for example as “Buddha”. In the understanding on level of worldly language, ‘Buddha’ means the Lord Buddha, a person in history who had propagated Buddhism in two thousand years ago and have passed away. While, in the level of transcendent language, ‘Buddha’ means the truth according to same meaning which is in the words of Buddha “The person who can see the truth, he can see the Buddha, the person who can see the Buddha he can see the truth. The person who cannot see the truth, Although he catch my yellow robe but it is not called ‘he can see the Buddha’”. He have applied this concept to another words mostly such as religion, Dhamma, Nibbana, life, death, human, paradise-hell, and so on

 

Buddhadasa Bhikkhu introduce to suggestion that hence in the word of Buddha, sometime he teach by normal language, sometime he say by transcendent language. The servants of all religion in the world are same such as if he talk to children or old man who feels basically he use the normal language that “there is the past, present and future, therefore you must try and effort before the death come”. But in the case of wise man who knows the Nibbana, He say that “ there is no the past, present and future, therefore we cannot attract anything”. As such, Buddha talk with the person in transcendent language. Except the make true understanding, the presentation of concept “normal language and transcendent language” are the effort for solution of doctrine which look like conflict to have the out-way rationally. It is a problem for Dhamma learner who have experience insufficiently. Fore example,  te teach that “Oneself indeed is master of oneself”, but he teach in another place that “Essence of oneself is nothing”. There is concept “normal language and transcendent language” will help us to explain that the first self means the self in normal language or worldly level, it is the symbolic self which each have to be.  But the second self means the self in transcendent language or level beyond the world, it is the true nature of self, which Buddhism confirm that there is no this self. In another case, such as, the word “paradise” in the normal language means the world of god which full of happiness. In the transcendent language, it means five sensual desires. The word “marry” in normal language means the wedding, in the transcendent language it means the equality naturally. The word “angle” in normal language means the beautiful lady, in the transcendent language it means Dhamma (truth) and so on.             

 

 

Conclusion and Suggestion

 

          The Buddhadasa’s explanation of religious language in level of transcendent language help us to across the many imagination in god story and mystic thought in traditional Buddhism. It is the challenge to Thai Buddhist for realizing, to recognize, and understanding of scripture and teaching of Buddhism in deepest and rational level. It is most necessary at time of the class opening of communication between traditional lawful monks who must teach the Buddhist of modern world. The Buddhadasa’s concept on normal language and transcendent language have important significance, because it is fundamental in understanding of Buddhism based on experience of wisdom. Under the frame of concept, it is the true context in meaning of Buddhism. Although it is the presentation that we should not understand the Buddhist scripture according to the words or as the most of people understand, because it leads to wrong attachment of ideas. The division of normal and transcendent language is helping to understanding the doctrine of Buddhism or essence of Buddhism. It leads Buddhist to leave the wrong ideas and include the looseness of wrong attachment in the Self, until leads to the cessation of suffering at the end. Although it is to create of understanding in Dhamma and solve the problem on the conflict of Buddha’s words, it can say that the presentation of concept on normal and transcendent language of Buddhadasa had created the harmony in the difference between religion. He reminds that the conflict and misunderstanding between religion come from to hold on the doctrine according to the “words” as “normal language” which is worldly rhetoric more than the language beyond the world, or “transcendent language”. If we understand the latter form, there is no conflict in all religion, because all say same language which is transcendent language. (Seri Pongpis, 2524, pp.40-41) Buddhadasa Bhikkhu had tried for explanation and interpretation of doctrine of each religion relatively as explains the meaning of God in English that it is similar in voice and meaning with word ‘kod (‘law’ in English)’ which means ‘Dhamma’ or ‘law of nature’. Although the symbol on ‘crucifix’ of Christianity was explained by Buddhadasa that to destroy of ‘I or me’ and ‘mine’ which is main passion of man. Therefore Buddhadasa have many good friends both Christian and Muslim. His works on lecture and books are full of lingual wisdom which is ability  in creation of words or group of new word, and conclude the explanation and to make the new meaning to well known words. Otherwise he had show the religious wisdom which can apply to technique and communicate the religious doctrine, belief, and valuable tradition to comfort for good practice to person and environment in contemporary as well. Howsoever, from the presentation of concept “normal and transcendent language”, he had interested in using of language  in another form as to bring the theory of psycho-analysis of Sigmund Freud and Alfred Adler to interpret the doctrine by presentation in article “The Experiment on Buddhist Psycho-analysis (superiority complex)” (2527). Freud realizes that all behavior of man come from the motivation of Sub-consciousness (Unconciousness), especially sexual instinct. While Adler critiques that it come from the effort to instead inferiority complex. But Buddhadasa do not believe in them, he critique that every things go on by to control of persistence (ahangara, mamangara or Me-and-Mine) which he calls ‘superiority complex’. He believe that there is no inferiority complex, but there is only superiority complex. The presentation is to create the words for to compare with concept “inferiority complex”, he critique that all human behavior, conclude plant and animal are under motivation from power of superiority complex, want to be important person, want to be great person or attachment in me and mine at all.  To use the theory of psycho-analysis for to critique Buddhist views is the effort to use Dhamma for applying with the modern science and to create the interested words for communication with the contemporary young person and technocrat meaningfully. He had created the words and sentence “suenmok form” which have value, meaning, proverb. These words is not created at all,  some words was applied as the Buddha had done, for example to bring the word ‘Nibbana’ means decease which is the words of people in Indian society to be absolute idea of Buddhism, and give the new meaning that the state of peace which come from the ability to destroy of lust, greed, fool in mind. In the case of Buddhadasa, he had create and apply the new words also as birds do not see the sky, fishes do not see the water, man do not see the world, eating love dignity (kin-karm-keat), cleaning light peace (sa-ngob, sa-ard, savarng). It is the beginning to explain the Dhamma  clearly both meaning and significance. It is the way of presentation of wisdom in propagation of Dhamma and lingual wisdom of Buddhadasa Bhikkhu which is valuable for leaning in worldwide at the future.  

 

หมายเลขบันทึก: 551280เขียนเมื่อ 19 ตุลาคม 2013 12:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2013 05:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)

ภาษาสื่อสารให้เข้าใจและการเดินทางของจิตวิญญาณท่านพุทธทาส

ความเป็นสากลของพระพุทธศาสนา

งดงามจริงๆค่ะ

ขอบคุณค่ะ

เคยสงสัยและสรุปแบบนี้ไหม

เมื่อเราทุกคน ที่เคารพรัก และ เชื่อฟังในคำสอนของพระพุทธเจ้า ปฎิบัติตามคำสั่งใช้และไม่ทำในข้อห้ามต่างๆ ที่ท่านสอนสั่งเสมอ.ในเมื่อเราทุกคนต้องตาย หากเราตายไป รอการเปิดบัญชีสอบสวน. วันนั้น ส่วนหนึ่งของเราที่ร่วมกันเชื่อฟังคำสอน ของพระพุทธเจ้า ย่อมมุ่งหวังที่จะพบ พระพุทธเจ้าที่เราเคารพรักกัน หากพบ เรามีโอกาสถามคำถามหนึ่งว่า. พระพุทธเจ้าค่ะ ท่านห้ามกตัญญูต่อ ผู้ให้ออกซิเจนท่านหายใจ เมื่อครั้งดำรงชีวิตในโลกุตระหรือ ผู้นั้นที่ชาวโลกเขากล่าวกันว่า เป็นเจ้าเมืองธรรมชาติ แถมมีหลักฐานว่า ผู้นั้นคือผู้สร้างจรรโลง บริหารระบบธรรมชาติ จัดการกรรม และมอบสิ่งเสพต่างให้เราทุกคนด้วยปราณีเสมอ. หลักฐานนั้นก็มีมาก่อนท่านเข้าวงสังสารวัฎ หลายพันปีอีกด้วย. พระพุทธเจ้าทราบดีว่า นั่นคือ กตัญญูกตเวทิตาธรรม อันเป็นองค์ธรรมที่สำคัญ ท่านก็คงจะตอบว่า ใครไปห้ามท่านมีธรรมล่ะ. เอาล่ะซิครับพี่น้อง ใครที่เคยกตัญญูต่อพระเจ้าไปพลางๆ ไม่ปฎิเสธปิดกั้น หรือ ไม่เคยมีการก่อจิตที่เนรคุณต่อผู้มีพระคุณนั้นก็เบาสบายไร้ทุกข์. แต่ผู้ที่ปฎิเสธเนรคุณไปพลางๆ ก็มีเหตุแห่งทุกข์กังวลขึ้นมาข้อนึงแล้ว. หากจะดับเหตุแห่งทุกข์ในวันนั้น ก็สมควรที่จะกตัญญูไปพลางๆก่อน เพราะ สากลทั่วโลก เขาก็กตัญญูไปพลางๆ ทั้งๆที่ยังไม่พบรูป แต่เข้าถึงคุณค่าของนาม. อีกทั้งต้องเสพสิ่งต่างๆจากการสร้าง จากหลักฐานการเป็นเจ้าของที่มีมาก่อนพระพุทธเจ้าเกิดหลายพันปีด้วยซ้ำ. กตัญญูกตเวทิตาธรรมนั้น ย่อมสามารถมี เพื่อความเท่าเทียมกันได้ เพียงแต่เราไม่ยอมผิดศีล5 ในข้อ ขโมย คือ ขโมยออกซิเจน เสพธรรมชาติ จากเจ้าเมืองธรรมชาติที่ทั่วโลก เขากตัญญูกัน อยู่ทุกนาที แล้วมีจิตเนรคุณ ไม่ขอบคุณให้ถึง ยอมปิดกั้นแค่เครื่องผลิต แต่ไม่ขอบคุณเจ้าของเครื่อง แถมไม่เพียรหลุดพ้นจากอาการขโมย ด้วยทางที่ง่าย คือ กตัญญูไปพลางๆ มีขันติธรรมรอ. มีปัญญาธรรมศึกษา มีสมาธิวิเคราะห์ มีศีลไม่มุสาว่า เสพ หรือ ไม่เสพ รับทราบหรือไม่รับทราบ. เพราะสากลเขาแจ้งชัดอยู่แล้ว. พระพุทธเจ้าท่านแนะนำให้ลองก่อน อย่าเพิ่งรีบเชื่อ หากใครมีพระเจ้าเป็นสิ่งปฎิเสธมานานจะกี่สิบปีก็ตาม ขอให้ลองมีพระเจ้าเป็นสิ่งกตัญญู สัก ปีสองปี ก็ยังดี จะได้ไม่ใช่ ผู้ไม่เชื่อฟังคำแนะนำของพระพุทธเจ้า ไง.

ขอบคุณครับสำหรับความเห็น แม้ว่าลึก ๆ ของผมจะมองว่ามันเป็นเพียงคลื่นแทรกก็ตาม  ในทัศนะของท่านพุทธทาสพระพุทธศาสนาก็มี God หรือพระเจ้า  แต่พระเจ้าของพุทธคือตัวความจริง (Truth) สัจธรรม, หรือกฏของธรรมชาติ  พระพุทธองค์ทรงเข้าถึง รู้แจ้งในความจริงนี้จึงนำมาเปิดเผยและสั่งสอน  เพราะฉะนั้นชาวพุทธจึงสำนึกในพระคุณของพระพุทธองค์ที่ช่วยให้เข้าใจและเข้าถึงสัจธรรมนี้  และเราก็ไม่ปฏิเสธคุณค่าของความจริงและธรรมชาติทั้งมวล  เพื่อความชัดเจนผมขอนำคำอธิบายของท่านพุทธทาสเกี่ยวกับพระเจ้าในภาษาคนและภาษาธรรมมาให้ดู ความหมายในวรรคที่สองเป็นภาษาคน  ส่วนในวรรคที่สามเป็นภาษาธรรม เป็นพระเจ้าในความหมายของชาวพุทธ

God/gods

 

God who have power in doing, inspiration, creation of all things.

Mystic power which does not be the Self, does not be the angle, does not  be anything. But it is the nature, truth, law of nature. It is called in Pali “Dhamma”.

แม้แต่ท่านมหาตมะ คานธี ผู้เคร่งในศาสนาที่สุดผู้หนึ่งของโลกยังกล่าวเอาไว้ว่า  "There is no God more than Truth"

คลื่นข่าวช่องความจริง

มีหลักฐานมานาน 6000กว่าปีแล้วว่า ผู้ใดคือเจ้าของความจริง ที่ยุติธรรม ปราณี ผู้นั้นกล่าวว่า ทำไมมนุษย์ถึงเกิด แก่ เจ็บ ตาย มีเหงื่อไหล มีทุกข์ สุข กังวล. แล้วยังไม่มีผู้ใดอ้างสิทธิ์นั้นทับเลยถึงปัจจุบัน ลองเพียร แล้วจะพบ. แต่อย่าประณีประนอมกับความอ่อนด้อยของปัญญาญาณของมนุษย์คนใด แม้แต่ตนเอง. เปิดกว้าง ไม่ปิดกั้น. เพราะ ศึกษาง่าย มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร มีพยานมากพอจะสนใจในสิ่งที่พวกเขาสนใจ. กตัญญูไปพลางๆต่อเจ้าของผลิตภัณฑ์ที่ตนเสพ ที่มีเอกสารสิทธิ์. นั่นคือ กตัญญูกตเวทิตาธรรมต่อ เจ้าของความจริงทั้งมวล. หลุดพ้นจากพยากรณ์ให้ได้ก่อนอื่น. อย่าหวาดกลัวว่าจะต้องสูญเสียบรรยากาศพยากรณ์ ที่เคยครอบครองต่อๆกันมา รุ่นต่อรุ่น. นี่คือ คลื่นแทรก ที่มีเพื่อนมนุษย์ใช้วลีนี้ ลงโทษในสิ่งที่เกินญาณวิสัยตน. คลื่นแทรกอาจเสียใจ ไม่เมตตาต่อคลื่นแทรกเลยหรือ เมตตาธรรม และ ขอความเอื้ออาทรต่อคลื่นแทรกน้อยๆนี้บ้างเถิด. นะนะ.

คลื่นข่าวช่องความจริง

มหาตมะ คานที ได้เอ่ยวลีเด็ด ตอน motivate ชาวอินเดีย ให้เกิดปัญญาธรรม เกิดต้นแห่งอหิงสา ว่า. ทุกสิ่งมีสัญญลักษณ์ ที่ไม่ปลอดภัยต่อการโจมตี. ยกเว้นพระเจ้าของปรัชญาในศาสนาหนึ่งคือ(น่าจะทราบไม่ต่องกล่าวชื่อนะ). เราจงค้นหาสัญญลักษณ์ ของ อังกฤษ ให้พบ แล้วโจมตีที่สัญญลักษณ์นั้นกันเถิด. แล้วก็พบสัญญลักษณ์ คือ เกลือ

นั่นคือ หนทางที่พระเจ้าได้โปรดปราน ดลให้งานการสำเร็จ เป็นแบบอย่างแห่งสิ่งดีงาม สันติธรรม ปัจจัยมาจาก “ความเข้าใจ เข้าถึง” และ เมตตาธรรมของท่านคานที นั่นเอง. งานการใหญ่ๆนั้น เกี่ยวข้องกับผู้บริหารจัดการกรรม อย่างพระเจ้า ทุกงาน. เชื่อมโยงอย่างไร พระเจ้าก็มีส่วน แม้แต่การเอ่ยอ้างปฎิเสธการมีพระเจ้า ยังต้องใช้ออกซิเจนของพระเจ้าบนจักรกลที่พระเจ้าสร้าง เปล่งเสียงเลย.

ผู้มีพระเจ้าเป็นสิ่งกตัญญู ไม่มีการลบหลู่ปฎิเสธสิ่งใดเลย แถมยังกตัญญูต่อผู้สร้าง และ จรรโลงสิ่งนั้นอยู่เสมอ แต่ผู้ปฎิเสธว่า พระเจ้าไม่มี(ทั้งๆที่พระพุทธเจ้ากล่าวในธรรมว่า ทุกสิ่งประกอบด้วยนาม และรูป). นั่นคือ การพยายามลบรูปพระเจ้า ที่ตนไม่มีขันติธรรม รอพบ ไปล่วงหน้านั่นเอง. ไม่พบรูปก็กตัญญูไปพลางๆก่อนได้. ไม่ต้องรีบไปเคาะประตูบ้านผู้มีพระคุณต่อพ่อแม่ศาสดาเรา เพื่อให้ออกมาพบการกตัญญูของเราเลย. ท่านอาจไม่กล้าออกมาเพราะ อาจจะกำลังสงสัยว่า. บรรพบุรุษเรา สอนสั่งเรามาแบบไหนอยู่.

ลองก่อน อย่าเชื่อ.

คลื่นข่าวช่องความจริง

อย่าให้ ทรรศนะ มาอวดอ้างว่า สร้างความจริงได้ ความจริงที่แท้ สมควรมาจากผู้ที่มิใช่ทาสแห่งมนุษย์ หรือ วรรณกรรมใดใด ทรรศนะ นั้น คือ วลีที่มนุษย์ใช้กันเกลื่อนกลาด เพื่อ สร้างวรรณกรรม ให้เลื่อ ยอมรับ เพื่อผลประโยชน์ แล้ว ทรรศนะ จะเชื่อมโยงกับความจริงได้หรือ. ลองศึกษาเถิดว่า “ความจริง”นั้น อยู่ที่เอกสารฉบับใด กันแน่. ลองศึกษาสัก2ปี น่าจะพอเพียง

ขอพรให้พบได้ทุกๆคนครั้บ ไม่เร่งเร้า ไม่ยัดเยียด ไม่ลบทิ้งของเก่า. ไม่บังคับให้เชื่อ ไม่อวดอ้างเสนอความเห็นตนเอง แต่ชี้ทางว่า อยู่ตรงไหน

วรรคที่4

God forever safe. God got no human 5 need. God don’t need benefit. God only giving God will approve our dad and mom’s good-bad account.

โอ้โห..ใส่ซะชุดใหญ่เลย ไม่ทราบว่าอัดอั้นตันใจมาจากไหนครับ  จริง ๆ ผมไม่ต้องการก่อวิวาทะกับเพื่อนต่างศาสนาหรอกครับ  ทุกคนต่างเชื่อมั่นศรัทธาในหลักคำสอนของศาสนาตัวเองทั้งนั้น  และที่สำคัญที่สุดหลักการของการเผยแผ่ศาสนาของท่านอาจารย์พุทธทาสก็กล่าวไว้ชัดเจนว่า ๑. มุ่งสร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างศาสนา ๒.ช่วยให้ศาสนิกทุกศาสนาเข้าถึงหัวใจของศาสนานั้น ๆ ๓.ใช้พลังของศาสนาดึงมนุษย์ออกมาจากวัตถุนิยม  เพราะฉะนั้นผมไม่ขอวิวาทะกับคุณ 

แต่ผมก็ยังยืนยันหลักการของพระพุทธศาสนาในเรื่องพระเจ้า  (ในอัคคัญญสูตร)  พระพุทธองค์ทรงปฏิเสธการมีอยู่ของพรหม (ซึ่งสมัยนั้นพราหมณ์ถือว่าเป็นพระเจ้าสูงสุด (God)ผู้สร้างสรรพสิ่ง)  และพระองค์ก็ทรงสอนใหม่ว่าสัจธรรมคือสิ่งที่อยู่เบื้องหลังปราการณ์และธรรมชาติทั้งมวล สัจธรรมทางพุทธศาสนาไม่ว่าจะเป็นไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท กฎแห่งกรรม หรืออริยสัจ ๔ คือสิ่งที่พระองค์ได้ตรัสรู้ พระองค์ค้นพบแล้วนำมาสั่งสอนสาวกให้รู้แจ้งและบรรลุตามพระองค์  และพระองค์ยังบอกอีกว่า สัจธรรมเหล่านี้เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว พระองค์ไม่ได้สร้างสิ่งเหล่านี้ขึ้นมา พระองค์ทรงตรัสรู้ เข้าถึงแล้วนำมาเปิดเผย พระองค์และสาวกไม่ได้มีอหังการว่าอยู่เหนือสิ่งเหล่านี้  ตรงกันข้ามพระองค์หลังตรัสรู้แล้วก็ทรงพิจารณาว่าพระองค์จะเคารพใคร พระองค์ก็เห็นว่ามีสิ่งเดียวที่พระองค์จะเคารพคือ ธรรม เราชาวพุทธจึงมีสรณะสาม คือ พระพุทธ ผู้ตรัสรู้ธรรม พระธรรม ความจริงที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้และสั่งสอน และพระสงฆ์ผู้รู้แจ้งตามพระพุทธเจ้าและเผยแผ่ธรรม  นี้คือหลักการของพระพุทธศาสนาครับ

 

ส่วนท่านมหาตมะ  คานธีนั้นท่านเป็นชาวฮินดูผู้เคร่งครัด แต่ขณะเดียวกันท่านก็ศึกษาทุกศาสนา และนำคำสอนที่ดี ๆ ของแต่ละศาสนามาปรับใช้ อย่างหลักอหิงสา ท่านก็ได้มาจากศาสนาเชน  หลักปัญญาที่ยึดความจริง (truth) ท่านก็นำมาจากพุทธ  หลักความรักผู้อื่น ท่านก็นำมาจากคริสต์  เพราะฉะนั้นไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่เราจะต้องมาวิวาทะกัน 

 

ก็ไม่พบว่าพระพุทธเจ้าปฎิเสธอัลลอฮัน

เริ่มศึกษาปรัชญาที่ สุจริต กตัญญู สัตย์ได้แล้ว ท่านอายุมากแล้ว อาจจะใช่มันสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ได้นะ เราให้กำลังใจเสมอ นะนะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท