มวล มาจากไหน


มวล มาจากไหน

I am asking this question not in a physical sense (Einstein has put the matter to rest with his E=mc**2 -- mass can come from energy and concersely) but in a etymological sense, that is "where the word มวล come from".

From Thai-English Lexitron Dictionary 2.0 มวลสาร N. mass def:[เนื้อของเทหวัตถุที่รวมกันอยู่ในเทหวัตถุนั้นๆ] sample:[เซอร์ไอแซคนิวตันมีผลงานโดดเด่นหลายเรื่อง โดยเฉพาะเรื่องการคำนวณระหว่างแสงกับมวลสาร]

By its spelling มวล is not a native Thai word. Most Thai words ending in "ล" usually come from Pali or Sanskrit eg. ตา : tāla: the palmyra tree; กา : kāla: time; มู : mūla: root; money; cash; foot; bottom; origin; cause; foundation; beginning. etc.

If มวล came from Pali or Sanskrit, how would it spell?

มะวะละ mavala?

มุวะละ/มูวะละ muvala/muuvala?

A Pali dictionary look up did not support this line of enquiry.

(มาละ : māla: a circular enclosure; a round yard -- is ruled out)

What I could find In Pali:

tulā: a balance; scales; a rafter. (f.)(In Thai ตุลา ดุลย์ ตาชั่ง)

Tuleti [from tulā; Lat. tollo, etc.] to weigh, examine, compare; match, equal tulana: weighing; rating; deliberation

Note. ประมวล [ปฺระมวน] ก. รวบรวมให้เข้าระเบียบเป็นหมวดหมู่, โบราณเขียนเป็น ประมวญ

mañña / maññati: imagines; is of opinion; deems. (man + ya)

kāya: a heap; a collection; the body. (m.)

From the Royal Thai Institute Thai Dictionary 2542

มูล: มูล ๒, มูล-: [มูน, มูนละ-] ว. มวล, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, เช่น จัดข้าวของไว้ให้โดยพร้อมมูล เตรียมเอกสารหลักฐานไว้ให้พร้อมมูล. (ป. มูล; ส. มูลฺย).

And from Wikipedia http://en.wikipedia.org/wiki/Tola_%28unit%29

The tola (Hindi: तोला; Urdu: تولا‎; tolā. from Sanskrit: तोलकः; tolaka), also transliterated as tolah or tole, is a traditional South Asian unit of mass, now standardised as 180 troy grains (11.663 8038 grams) or exactly 3/8 troy ounce....

The tola is a Vedic measure, with the name derived from the Sanskrit tol (तोलः root तुल्) meaning "weighing" or "weight". One tola was traditionally the weight of 100 ratti (ruttee) seeds [a cereal grain] and its exact weight varied according to locality. However, it is also a convenient mass for a coin...

What are the possible etymologies?

1) a corruption of "mula" มูล to มวล for a particular use --no evidence--

2) a corruption of "tola" โท-ลา or ทู-ลา to มวล --unlikely--

OK, it is your turn now. Have a go.

คำสำคัญ (Tags): #มวล#mass#etymology
หมายเลขบันทึก: 546498เขียนเมื่อ 25 สิงหาคม 2013 05:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 ธันวาคม 2014 11:27 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)

Thank you Dr. Ple : but please note [my blue highlight] "...เซอร์ไอแซคนิวตันมีผลงานโดดเด่นหลายเรื่อง โดยเฉพาะเรื่องการคำนวณระหว่างแสงกับมวลสาร...". Many highsschool children would say It's Einstein who made the connection between light and mass -- not Sir Isaac Newton as NECTEC's Thai-English Lexitron Dictionary 2.0 says.

 

From <http://www.engsub.eng.chula.ac.th/newsletter/index.php?q=book/export/html/282> i quote

"...คำภาษาอังกฤษ 2 คำต่อไปนี้ คือ “biomass” และ “biomedical” ที่มีบางท่านหรือบางหน่วยงานใช้ว่า ‘ชีวมวล’ และ ‘ชีวการแพทย์’ ซึ่งเป็นการเอาคำบาลีสันสกฤต (ชีว-) มาสมาสเข้าข้างหน้า คำไทยแท้ (มวลและ การแพทย์) แบบหัวมังกุท้ายมังกร จึงเป็นการใช้คำที่ผิดหลักภาษาไทย คำที่ถูกต้องอย่างเป็นทางการตามราชบัณฑิตยสถาน คือ “มวลชีวภาพ” ** และ “-ชีวเวช” ... ท่านใดหรือหน่วยงานใดที่ใช้ผิด น่าจะแก้ไข-ใช้ให้ถูกต้องนะครับ...

*อ่านว่า สะวะนะสาด “สวน” (อ่านว่า สะวะนะ) เป็นคำบาลี หมายถึง การได้ยิน การฟัง เช่นในคำว่า ธรรมสวนะ = การฟังธรรม**นำคำว่า “-ชีวภาพ” มาขยายคำว่า “มวล” เหมือนกับในกรณีของคำว่า biotechnology = เทคโนโลยีชีวภาพ

ผู้เขียน

อ. ดร.ชนินทร์ วิศวินธานนท์

อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

กรรมการบัญญัติศัพท์วิศวกรรมไฟฟ้า ราชบัณฑิตยสถาน

[I looked up the Royal institute Thai Dictionary 2542, it says:

เวช, เวช-: [เวด, เวดชะ-] น. หมอรักษาโรค. (ป. เวชฺช; ส. ไวทฺย).

แพทย-, แพทย์: [แพดทะยะ-, แพด] น. หมอรักษาโรค. (ส. ไวทฺย).

Now I am confused! Should I look in the Royal institute Thai Dictionary 2554 or just accept คำไทยแท้ (มวลและ การแพทย์)? 

ชนินทร์ วิศวินธานนท์

บังเอิญว่า... ผมป้อนคำว่า "มวลชีวภาพ" + ชื่อ-นามสกุลของผม ลงใน Google เพื่อต้องการจะหาลิงก์บทความที่ผมเคยเขียนเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ ก็เจอลิงก์ของกระทู้นี้โผล่ขึ้นมาด้วย เลยคลิกเข้ามาดู จึงได้เห็นคุณ sr เจ้าของกระทู้ ได้กล่าวถึงบทความของผม และก็ได้เห็นประเด็นที่ก่อให้เกิดความสงสัยในบทความที่ตัวผมเคยเขียนไว้ จึงขอถือโอกาสเข้ามาชี้แจง/ขยายความสักเล็กน้อยนะครับ

ที่ผมเขียนว่า "'ชีวการแพทย์' เป็นการเอาคำบาลีสันสกฤต (ชีว-) มาสมาสเข้าข้างหน้า คำไทยแท้ (มวล และ การแพทย์) แบบหัวมังกุท้ายมังกร" นั้น ผมหมายถึงว่า...

คำว่า "ชีว" เป็นคำในภาษาไทย ที่มาจากคำบาลีสันสกฤต และก็ยังคงรูปบาลีสันสกฤต

คำว่า "มวล" ไม่ได้มาจากคำบาลีสันสกฤตหรือคำในภาษาอื่น ถือว่าเป็นคำไทยแท้ (เช่นเดียวกับคำว่า "ขวัญ")

ส่วนคำว่า "การแพทย์" เป็นคำในภาษาไทย ที่มาจากคำบาลีสันสกฤต [ทั้ง "การ" และ "แพทย์" (ไวทฺย)] แต่เมื่อแผลงคำสันสกฤต "ไวทฺย" เป็นคำใช้ในภาษาไทยว่า "แพทย์" แล้วเอาคำว่า "การ" มาประกอบข้างหน้า ตามวิธีการสร้างคำแบบไวยากรณ์ไทย ได้เป็นคำประสมว่า "การแพทย์" (ไม่ใช่ "ไวทยการ" ซึ่งเป็นคำสมาสอย่างบาลีสันสกฤต) ผมก็เลยถือว่า "การแพทย์" เป็นคำรูปแบบไทย แต่ไม่ใช่ "คำไทยแท้"

เพราะฉะนั้น ถ้าแก้เป็น "'ชีวการแพทย์' เป็นการเอาคำรูปบาลีสันสกฤต (ชีว) มาประกอบเข้าข้างหน้าคำไทยแท้หรือคำรูปแบบไทย (มวล และ การแพทย์) ได้เป็นคำแบบหัวมังกุท้ายมังกร" ก็จะถูกต้องกว่านะครับ

ชนินทร์ วิศวินธานนท์

https://www.facebook.com/arismike999

- - - - -

ป.ล. ภาษาบาลีสันสกฤตไม่มีคำว่า "มวล"

Thank you Dr ชนินทร์ วิศวินธานนท์ for your kind response.

The point in issue is whether the words มวล และ การแพทย์ are "คำไทยแท้".

I accept การแพทย์ เป็นคำแบบหัวมังกุท้ายมังกร.

You suggest that มวล is a native Thai word because 'คำว่า "มวล" ไม่ได้มาจากคำบาลีสันสกฤตหรือคำในภาษาอื่น ถือว่าเป็นคำไทยแท้ (เช่นเดียวกับคำว่า "ขวัญ")' and 'ป.ล. ภาษาบาลีสันสกฤตไม่มีคำว่า "มวล".'

I think we don't have reasons to rule out possible etymology from Khmer or Mon (Both languages have adopted and modified a great number of Pali and Sandkrit words).

I offer my note for further work.

Thai: มวล
มวลสาร: น. เนื้อของเทหวัตถุที่รวมกันอยู่ในเทหวัตถุนั้น ๆ.
เทหวัตถุ: [เทหะ-] (วิทยา) น. ก้อนหรือชิ้นหรือส่วนหนึ่งของสสาร อาจเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ก็ได้. (อ. body).
เทห-, เทห์, เท่ห์: [เทหะ-] น. ตัว. (ป., ส. เทห ว่า ร่างกาย).
deha: the body. (m. nt.)
vatthu: a site; ground; field; plot; object; a thing; a substance; a story. (nt.)


อวล: [อวน] ก. ฟุ้งด้วยกลิ่นหอม, มักใช้เข้าคู่กับคํา อบ เป็น อบอวล. (ข. ว่า เต็ม, แน่น, อึดอัด).

khmer: ដុំ, ដុល (ดุล) = mass

From พจนานุกรมไทย ราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒
ดุล, ดุล-: [ดุน, ดุนละ-] น. ตราชู, คันชั่ง, มาตราชั่งน้ำหนักโบราณ เช่น ทองคําหนัก ๒๐ ชั่ง เรียกว่า ดุลหนึ่ง; ความเท่ากัน, ความเสมอกัน, เช่น รายรับรายจ่ายเท่ากัน เรียกว่า งบประมาณสู่ดุล; ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เรียกว่า ราศีดุล เป็นราศีที่ ๖ ในจักรราศี, ราศีตุล ก็ว่า. ว. เท่ากัน, เสมอกัน, ทัดเทียมกัน. (ป., ส.).
<NB. (ป., ส.) indicates 'root of word from Pali and Sanskrit)>
ตุล: น. คันชั่ง, ตราชู; ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เรียกว่า ราศีตุล เป็นราศีที่ ๖ ในจักรราศี, ราศีดุล ก็ว่า.
<NB. เดือนตุลาคม มีรากศัพท์จาก ตุล>

Pali: tulā: a balance; scale; a rafter. (f.)
<NB. a balance/a scale : a weighing equipment; a rafter is likely to mean 'a float' and implicitly relating floating characteristics of object to (concept of) 'mass'.

(Thai) words ending with .วล and ญ . :
ควาญ: [คฺวาน] น. ผู้เลี้ยงและขี่ขับช้าง, คนบังคับช้าง, ใช้กับสัตว์อื่นก็มี เช่น ควาญแรด. (สมุทรโฆษ), ควาญแกะ ควาญม้า. (ปรัดเล).
ประมวล
ประ- ๑: [ปฺระ] ใช้เติมหน้าคําอื่นเพื่อให้คําหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คําที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร เช่น ประทม เป็น บรรทม.


กะนวล: น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลาง Garcinia merguensis
กังวล
นวล
กำสรวล กระสรวล
เสสรวล: [-สวน] ก. หัวเราะร่าเริง, หัวเราะอย่างสนุกสนานครึกครื้น, สรวลเสหรือ สรวลเสเฮฮา ก็ว่า
หอมกระเวนกระวน, เขียนเป็น กรเวนกรวล
แสงสรวล (สมุทรโฆษ).
กระอวล: (กลอน), อวล
มวล
ไกวัล ๑: [ไกวัน] ว. ทั่วไป. (ป., ส. เกวล)
แลมาให้แก่บาคค่อมขวลทรรป. (ม. คำหลวง ชูชก)
ทุงทองทรเล่ห์สระทรหวล. (ม. คําหลวง มหาพน)

ธรรมนูญ ขู่เข็ญ ขุกเข็ญ สามัญ วิสามัญ มอญ สําคัญ ครวญ เทวัญ กฤษฎาญ (กฤดาญชลี) วันเพ็ญ รําคาญ ขวัญ กล้าหาญ เชิญ (สาบ)สูญ ครวญ(คราง/คร่ำ) นงคราญ บุญ บังเอิญ รอนราญ ผจญ(ประจญ) ผจัญ(ประจัญ) ชํานาญ(เชี่ยวชาญ) สำราญ(สราญ) เหรียญ ธัญ ประมวญ(ประมวล) เปรียญ เจริญ เผอิญ แหลกลาญ(ลาญทัก) สรรเสริญ บํานาญ พนารัญ

Thank you again for your kind attention and reply.

ชนินทร์ วิศวินธานนท์

ต้องขออภัยด้วยนะครับที่ผมไม่เข้าใจประเด็นที่คุณ sr เขียนตอบมาได้ทั้งหมด

แต่สำหรับประเด็นว่า คำว่า "มวล" ไม่ได้มาจากคำบาลีสันสกฤตหรือคำในภาษาอื่น ถือว่าเป็นคำไทยแท้ (เช่นเดียวกับคำว่า "ขวัญ") นั้น มีบทความที่เกี่ยวข้อง ดังล่างนี้ครับ


ขวัญ โดย ศ. ดร.กาญจนา นาคสกุล

ขวัญ

ขวัญ เป็น สิ่งที่ไม่มีตัวตน แต่เป็นสิ่งที่ทำให้คนมีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข ไม่เจ็บไข้ ไม่หวาดกลัว หรือตกใจ.

ขวัญมีอยู่ในตัวคนแต่ละคนมาตั้งแต่เกิด. ถ้าตกใจหรือหวาดกลัวขวัญก็จะหนีไป. คนที่ไม่มีขวัญ ก็จะมีอาการผิดปรกติ เจ็บไข้ ไม่มีสติอยู่กับตัว. เราจึงต้องเรียกขวัญ รับขวัญ ผูกขวัญ กันไว้เสมอ ๆ เพื่อให้ขวัญอยู่กับตัว.

เมื่อถึงวันที่จะทำพิธีที่เกี่ยวกับชีวิต เช่น เมื่อเด็กมีอายุได้ ๑ เดือน หรือ ๑ ปี, เมื่อจะโกนจุก บวชนาค หรือแต่งงานก็จะมีการทำขวัญ เรียกขวัญ และให้สิ่งต่าง ๆ เป็นของขวัญ.

คำว่า ขวัญ เป็น คำไทยแท้ มีอยู่ในภาษาไทยของคนไทยทุกถิ่น. ที่เขียนใช้ ญ สะกด เพราะเข้าใจผิดว่าเป็นคำยืมมาจากภาษาเขมร แท้จริง คำว่า ขวัญ แม้ว่าจะสะกดด้วยตัว ญ ก็เป็นคำไทยแท้.

ผู้เขียน ศ. ดร.กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิต ประเภทวรรณศิลป์ สาขาวิชาภาษาไทย สำนักศิลปกรรม

คัดลอกจาก http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=...


ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทวรรณศิลป์ สาขาภาษาไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญภาษาและวรรณคดีไทย รวมทั้งภาษาและวรรณคดีเขมรมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศ มีผลงานด้านการเขียนเกี่ยวกับภาษาไทยและภาษาเขมรเป็นจำนวนมาก (http://th.wikipedia.org/wiki/กาญจนา_นาคสกุล)


ชนินทร์ วิศวินธานนท์

ป.ล. ถ้าผมมีโอกาสได้เจอกับ อ.กาญจนา อีก จะลองถามท่านดูว่า เป็นไปได้ไหมว่า คำว่า "มวล" มาจากคำเขมร แล้วจะมาแจ้งให้ทราบนะครับ

Dr ชนินทร์ วิศวินธานนท์ Sir

Thank you for your added information.

I am hoping to get comments from teachers of Thai language. There are many areas in Thai language studies that are quite interesting to people, teachers and children included. I feel that we do not have enough research and discussions on "...ขวัญ เป็น คำไทยแท้ มีอยู่ในภาษาไทยของคนไทยทุกถิ่น...". So, I thank you again for keeping this มวล alive.

I will try to organize my notes and my thoughts on มวล and similar Thai words in the next few days.

I am not a fan of Facebook. Can you give me a contact email?


Dr ชนินทร์ วิศวินธานนท์ Sir

I decided to explain my point of view in another post มวล มาจากไหน (inside) (with backlink to this post). I did really prefer to discuss the matter outside public webpages but at the same time I'd like to stimulate public research and discussions. Thai education systems had been kept in school for far too long. Our children have got used to being fed. And this is holding Thailand back. I think it's time for change. Time to energise our children into 'research' areas rather than just techno-crazy, sensationalism, sex, drugs and violence.

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท