แผ่นดินทอง สองทะเล สมัชชาสุขภาพภาคใต้ครั้งที่ 3


คุณหมออำพลจินดาวัฒนะ บอกว่า ภาคใต้เหมือนคนที่มีลูกสาวสวย จึงเป็นที่หมายปองของ คนทั่วไป เรื่องนโยบายสาธารณะต้องพูดกันต่อไป ว่า อีก 10 ปีภาคใต้จะพัฒนาอะไร อีกสิบปี ประเทศไทยจะไปทางใหน

  

 หลังจากไปร่วมงาน สมัชชาสุขภาพครั้งที่ 5 ที่ไบแทคบางนาเมื่อวันที่ 18-20 

 ธันวาคม 2555  ก็มีงานสมัชชาภาค  สมัชชา จังหวัด สมัชชา พื้นที่ สมัชชาประเด็น 

ให้เข้าร่วมหลายเวที  ครั้งนี้สมัชชาสุขภาพภาคใต้ครั้งที่ 3 ที่ทางกลุ่มจังหวัด ระนอง 

พังงา สุราษฎร์และชุมพรร่วมกันเป็นเจ้าภาพ  จัดขึ้นที่ โรงแรมแกรนด์พาเลซด์ ในวัน

ที่22 -24 กุมภาพันธ์ 2556 ซึ่งมี วาระที่นำเสนอ จำนวน 4 เรื่อง คือ

1.การจัดการภัยพิบัติ 

2.นโยบายการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุภาคีวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ 

3.แผนพัฒนาภาคใต้ที่ยั่งยืน  บนฐานพึ่งตนเองด้านเศรษฐกิจ  สังคม สิ่งแวดล้อม 

4.นโยบายสนับสนุนพื้นที่จัดการตนเองเพื่อสังคมสุขภาวะ



อาจารย์ ไพทูรย์ ทองสม หน.ทีมสมัชชาสุขภาพพัทลุง  โฆษกหน้าม่าน



         ตอนค่ำวันนี้ ณ.ลานคนเดิน หน้าเท

 ผศ. ดร. ภก. พงค์เทพ   สุธีรวุฒิ 

นายสมบูรณ์ คำแหง 

นายประสิทธิชัย  หนูนวล 

นายสิทธิโชค เล่งไพบูลย์

นายแพทย์ อำพล จินดาวัฒนะ 

              ดำเนินการเสวนาโดย นส. นาตยา  แวววีรคุปต์ นำคุยด้วยการนำเสนอแผน

พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ต้องการพัฒนาภาคใต้ไปสู่อุตสาหกรรม  ตาม

แผน 11 ที่เขียนแผนไว้ว่า ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความเข้มแข็งชุมชน เกต

รกรรมยั่งยืน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม   ตามด้วยภาคประชาสังคมคนทำงานเกาะติด

พื้นที่ 


รำเปิดม่าน โดยนักเรียนโรงเรียนศรียาภัย แนะนำท่องเที่ยวชุมพร


      คุณประสิทธิชัย ให้ข้อมูลเรื่องแผน 11 ว่ามี 2ระดับ คือระดับของสภาพัฒน์และ

ระดับหนวยงานปฎิบัติ เช่น แผนพลังงาน ภาคใต้เจอปฎิบัติการจริงที่ สตูล ตรัง สงขลา 

นคร พัทลุง ในการพัฒนา ที่"เปลี่ยนแผ่นภาคใต้ ด้วยอุตสหกรรม(อุส่าหากรรม)

คุณ สิทธิโชคเล่าว่า คนที่ลุกขึ้นมาปกป้องสิทธิในที่อยู่อาศัย มักถูกตรีตราว่าขัดขวาง

การพัฒนา ไม่เสียสละ แต่บทเรียนจากพื้นที่ อำเภอจะนะ  10 ปีที่คนจะนะเสียพื้นที่ทำ

มาหากิน ต้กำหนดทิศทางด้วยกัน องมาคิดทบทวนเป็นบทเรียน ในการพัฒนาภาคใต้ 


เสวนาวิชาการเรื่องแผนพัฒนาภาคได้  นำเสวนาโดย คุณ นาตยา แวววีรคุปต์


         คุณหมออำพลจินดาวัฒนะ บอกว่า ภาคใต้เหมือนคนที่มีลูกสาวสวย  จึงเป็นที่หมายปองของ

คนทั่วไป  เรื่องนโยบายสาธารณะต้องพูดกันต่อไป ว่  อีก 10 ปีภาคใต้จะพัฒนาอะไร

อีกสิบปี ประเทศไทยจะไปทางใหน  ภาคใต้มีความสมบูรณ์ทางการเกษตร ดังนั้นคน

ภาคใต้จึงต้องกำหนดการพัฒนา  กำหนดสิทธิในการมีส่วนร่วม  ตรวจสอบอำนาจรัฐ 

ผลักดันนโยบายสาธารณะ ให้รัฐ และหน่วยงาน กระวนการสมัชชาเป็นเครื่องมือ 

 คนภาคใต้มีจิตสาธารณสูง มีมติใหม่ๆออกมาเสมอและติดตามอย่างตลอด  นี้คือ

ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม  อาจารย์พงค์เทพ  สมัชชาขาขึ้น ขึ้นจากปัญหา  สาเหต 

แนวทางแก้ไข จึงได้มีมติออกมา ขับเคลื่อข้อเสนอ ออกมาเป็นรูปธรรม คือการผลักดัน

มติเข้า ครม. พวกเราจึงต้องมาวางแผนแม่บท นี้คือยกแรกของการเสวนา ในงาน

สมัชชาสุขภาพภาคใต้...พรุ่งนีเรามากำหนดอนาคตภาคใต้ร่วมกัน ว่าเราจะเป็นพื้นที่

เกษตรกรรมทำอาหารให้กับผู้คนให้มีความมั่นคงทางด้านอาหาร  

                                                                                                   

หรือเราจะ อุส่าหากรรม

 มาทำลายสุขภาพของพวกเราชาวใต้



คุณอานนท์  มีศรี สื่ออนไลน์ภาคใต้ ถ่ายทอดสดผ่านสถานีวิทยุ สภาองค์กรชุมชน ภาคใต้ นครศรีธรรมราช



อาจารย์ ชัยพร  จันทร์หอม ผู้จุดประกายประจัดการชุมออนไลน์ ภาคประชาชน




คุณหมออำพล จินดาวัฒนะมาให้กำลังใจคนสมัชชา


สุชีพ พัฒนทอง พี่ใหญ่จากระนอง มอบรางวัลให้เด็กๆ


ทีมสมัชชาสุขภาพ พัทลุง



หมายเลขบันทึก: 520421เขียนเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2013 00:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2013 07:45 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (7)

We should see 'industries' from local eyes.

Will it gives us income and keep our culture or way of life?

Will it keep our environment (our home) the way we want to pass on to our children?

Any industry that uses us as (cheap) labour or (cheap) raw materials is not interested in our well being and our future. We should be better off without this 'industry' -- we know how to deal with the way we are now but we do not know what evil the new industry may bring. Looking at examples of industries around the Kingdom, around the world, very few industries improve our life -- most improve wealth for multi-national money mongers.

Yes, do think carefully about polluting industries before accepting them into our community.


สวัสดีครับท่าน SR  ยังคงเกาะติดสมัชชาสุขภาพภาคใต้ต่ออีกสองวัน

คงมีประเด็นมาแลกเปลี่ยนกันอีกหลายเรื่อง

สุชีพ พัฒน์ทอง(โกเบ็กซ์)

ข้อมูลข่าวสารได้ประโยชน์มากที่สุด

ขอบคุณ นายหัวโกเบ็กซ์  สื่อทุกแขนง ร่วมด้วช่วยกันสร้างสรรค์สื่อสร้างสุข

พรุ่งนี้ในงานยังมีสิ่งดีๆอีกมาก เตรียมรับได้เลย

ครับพรุ่งนี้มีสิ่งดีๆให้เก็บเกี่ยวเรียนรู้อีกหลายเรื่อง

สวัสดีครับ น้อง ปู ขนิษฐา

ไม่ได้หลบมาบันทึกนี้

มาอีกที จึงทักทายตอบ 

ขอขอบคุณ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท