Health care financing


                                                        Health care financing


ระบบบริหารสุขภาพ
เมื่อมีสปสช. เข้ามาเกี่ยวข้องจะเข้ามารับหน้าที่ในการจ่ายเงินการจ่ายเงินจะมีข้อตกลงและสัญญาว่าจะต้องทำอย่างไร ซึ่งภาครัฐ  มีหน้าที่เป็นผู้ติดตามผู้ให้บริการอยู่ในฐานะผู้ให้บริการ ภาคเอกชน อยู่ในฐานะโรงพยาบาล บริษัทรับประกัน  ลูกค้า หรือผู้ป่วย ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ เมื่อเกิดการเจ็บป่วยรวมทั้งในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการสร้างเสริมย่อมมีค่าใช้จ่าย สิ่งเหล่านี้ นอกจากตัวผู้ป่วย แล้วยังมีหน่วยงานองค์กรใดเข้ามามีส่วนร่วมในการจ่าย ซึ่งรูปแบบในการจ่ายสามารถสรุปได้มีดังนี้

1. ผู้ป่วยจ่ายเอง

2. การจ่ายภาคสมัครใจ

          - ประกันสุขภาพยามเจ็บป่วย

          - บัตรสุขภาพ

          - กองทุนสุขภาพชุมชน

3. การประกันสุขภาพภาคบังคับ

          - ประกันสังคม

          - กองทุนเพื่ออนาคต


4. สวัสดิการบริษัทหรือนายจ้างอีกรูปแบบหนึ่งในการจ่ายคือ การจ่ายโดยรัฐบาล

5. การจ่ายโดยรัฐบาลโดยภาษี

          - สวัสดิการรัฐบาล

          - สวัสดิการสังคม

          - เงินอุดหนุนให้ Health care provider

          - เงินสมทบประกันสังคม

          - การจ่ายโดยรัฐบาลโดยภาษีหมายหัว (ภาษีบุหรี่และสุรา 2%)เข้ากองทุนสสส.


6. การจ่ายโดยต่างประเทศ

          - Malaria control program

          - AIDS

 

รูปแบบระบบเงิน

ระบบภาษี ได้แก่ ประเทศอังกฤษ ไทย เดนมาร์ค สวีเดน

ระบบเบี้ยประกันได้แก่ ประเทศเยอรมัน ฝรั่งเสศ เนเธอร์แลนด์ สวิสเซอร์แลนด์

ระบบผสม ได้แก่ ประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน

 

                                                  ข้อดีและข้อด้อยของระบบภาษี

ข้อดี

1. มีการบริหารจัดการต่ำ

2. มีความเป็นธรรมในการจัดเก็บ


ข้อด้อย

1. งบประมาณไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละกระทรวง

2. ถูกการเมืองแทรกแซง

3. การขาดประสิทธิภาพของระบบราชการไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน

 

                                                ข้อดีและข้อด้อยของระบบเบี้ยประกัน


ข้อดี

1. มีความแน่นอนทางการเงิน

2. ประชาชนยินดีจ่ายมากกว่าระบบภาษีเนื่องจากมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน

3. ตอบสนองความต้องการของประชาชน

4. ผู้ให้บริการมีรายได้ที่แน่นนอน

 

ข้อด้อย

1. ค่าบริหารจัดการสูง

2. ผู้ที่ไม่มีเงินเดือนมีปัญหาในการจัดการ

3. มีภาระจากผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น


                                          เป้าหมายของ Health care financing

1. ความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการ

2. ความเป็นธรรม

3. คุณภาพ

4. คุ่มค่า

5. ความยั่งยืน




หมายเลขบันทึก: 514556เขียนเมื่อ 30 ธันวาคม 2012 21:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 ธันวาคม 2012 21:44 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท