เรื่องเล่าจากโรงพยาบาล : Do and Do not ในงานรังสีวินิจฉัย


รู้เขา รู้เรา คิดถึงใจเขา ใจเรา ให้บริการผู้รับบริการดุจญาติมิตร เป็นส่วนหนึ่งของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในขบวนการบริการ

สวัสดีครับ

วันนี้ขอนำเสนอเรื่องจากเพื่อนของผม คือ คุณนันทวัน เบื่อน้อย ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นโรงพยาบาลรักษาผู้ป่ายจิตเวช ได้ส่งเอกสารเพื่อต้องการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน


Do and Do not in Radiology

เป็นแนวทางของพฤติกรรมที่ควร และ ไม่ควรปฏิบัติในการให้บริการผู้ป่วย



ประสบการณ์ที่นำเสนอนี้ เกิดจากการเรียนรู้ในการปฏิบัติงานที่สะสมมาหลายสิบปี



ลองอ่านและทบทวนดูนะครับ ว่าจะสามารถนำไปปรับใช้ให้สอดคล้องกับงานของท่านได้มากน้อยเพียงใด

หมายเลขบันทึก: 491264เขียนเมื่อ 15 มิถุนายน 2012 14:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 12:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

"ผู้ป่ายจิตเวช" ส่วนใหญ่มักจะหวาดระแวง ไม่ไว้วางใจใคร.. แค่เราซักประวัติ ก็มีปฏิกริยาเยอะมากค่ะ ต้องมีผู้ที่ชำนาญด้านจิตใจคอยดูแล 

 

ขอบคุณครับอาจารย์ที่มีข้อมูล และความรู้มาให้ทราบและนำไปปฎิบัติ เราเคยเจอแต่ผู้ป่วยที่เป็นปกติ หรือไม่ก็ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ หรือผู้ป่วยเด็กที่ไม่ให้ความร่วมมือ แต่นี้ก็เป็นผู้ป่วยอีกประเภทหนึ่งที่เราต้องให้ความใส่ใจเป็นพิเศษ เพราะระบบคุณภาพที่ทุกโรงพยาบาลต้องปฎิบัติในการทำระบบคุณภาพ( JCI ) ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางครับ ขอบคุณครับ

ขอบคุณมากเดี๋ยวขอไปแชร์หน่อย

ผู้ป่วยจิตเวชจะไม่ยอมรับการเจ็บป่วยจึงไม่อยากรักษา ซึ่งต่างจากผู้ป่วยทางกายที่ต้องการรักษาดังนั้นจึงต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการดูแลโดยเฉพาะเช่นจิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา และอาจจะต้องมีนักรังสีจิตเวชด้วย..... คิดไป

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท