หลักธรรมของผู้นำ


หลักธรรมของผู้นำ



หลักธรรมของผู้นำ 



 



        การเป็นผู้นำที่สมดุล
เป็นผู้นำที่ผู้อื่นยอมรับ จะต้องเป็นไปด้วยบทบาทของ



การเป็นผู้นำในตนเอง
ที่แสดงความดีงามและความสามารถทั้งหมดออกมาให้ผู้อื่นได้เห็น
จนพวกเขาเกิดการยอมรับและศรัทธาด้วยพลังอำนาจภายในจิตใจหรือจิตสำนึก



ของพวกเขาเอง
โดยมีทั้งความดีงามและความสามารถเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการเหนี่ยวรั้ง



พวกเขามาเป็นหนึ่งเดียวกับเรา



            ความสามารถ คือ
หน้าที่ที่ผู้นำจะต้องแสดงออกต่องานและต่อผู้ร่วมงาน



            ความดีงาม คือ
บทบาทที่ผู้นำจะต้องแสดงออกต่อผู้ร่วมงาน



 ทั้งนี้ “หน้าที่” และ “บทบาท” ในการเป็นผู้นำบุคคลอื่น
เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ยิ่งนัก
หากผู้นำต้องการประสบความสำเร็จในการเป็นผู้นำที่องอาจสง่างาม
และเป็นผู้นำอย่างถาวรได้กับทุกคน ทุกกลุ่ม ทุกที่ และทุกเวลา
ผู้นำจะต้องใส่ใจในเรื่อง เสาหลักหรือเสาเอก
อันเป็นโครงสร้างของผู้นำในระดับแก่นแท้ที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ด้วยเช่นเดียวกัน



            ในที่นี้ขอเรียกเสาหลักหรือเสาเอกนี้ว่า “หลักธรรมของคนที่เป็นผู้นำ”
ซึ่งมีทั้งสิ้น 7 ต้น (ปริญญา ตันสกุล,2550)

หมายเลขบันทึก: 458921เขียนเมื่อ 6 กันยายน 2011 13:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 22:01 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท