การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์กร


การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์กร

การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์กร

การรู้จักตนเอง

  ความรู้สึกนึกคิดและภาพการมองที่แตกต่างกัน ระหว่างบุคคล 2 คน หรือมากกว่านั้น เปรียบเหมือนกระจกเงาบานใหญ่ที่ส่องภาพที่เป็นความจริงของตนเอง การยอมรับคำวิจารณ์ความคิดเห็นของบุคคลอื่นอย่างมีเหตุผล ทำให้เราสามารถทำการบ้านให้กับตัวเอง และรู้จักตัวเองได้อย่างถูกต้อง เช่น เรามีจุดอ่อนที่โกรธง่าย อารมณ์ขุ่นมัว พูดจามะนาวไม่มีน้ำ ใบหน้าไม่สร้างความสัมพันธ์ พูดคำด่าคำ การแสดงเหล่านี้เป็นอุปสรรคในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ จำเป็นอย่างยิ่งต้องปรับปรุงเปลี่ยนบุคลิกภาพใหม่ ดังนั้น หลักการในการรู้จักตนเอง ประกอบด้วยสิ่งสำคัญ 6 ประ การ คือ

องค์ประกอบของการเรียนรู้ตนเอง

     การรู้จักตนเอง  เป็นการพิจารณาภาพที่เป็นจริงจากกระจกเงา สะท้อนให้ห็นถึงบุคลิกภาพที่แท้จริง กรรู้จักตนเองในทุกสถานการณ์ ทำให้เราสามารถควบคุมอารมณ์ จิตใจ คำพูด การแสดงออก ได้เหมาะสม ในการส้างความสัมพันธ์ถาวร  องค์ประกอบการเรียน

การรู้จักตนเองประกอบด้วยตนเอง

 การปรับบุคลิกภาพเพื่อพัฒนาตนเอง

     มนุษย์ทุกคนจะต้องอยู่ร่วมกันในสังคม จะอยู่อย่างโดดเดี่ยวไม่ได้ การอยู่ร่วมกันต้องปรับบุคลิกภาพและการพัฒนาตนเอง เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทุกคนก็จะอยู่อย่างมีความสุข การปรับบุคลิกภาพเพื่อพัฒนาตนเอง ประกอบด้วยลักษณะต่อไปนี้

การปรับปรุงเพื่อพัฒนาตนเอง

    มนุษย์เราเกิดมายอมรับว่ามีทั้งส่วนดีและส่วนเสีย ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่ามีสถานการณ์ต่าง ๆ มากระทบ จึงทำใหเเกิดพฤติกรรมออกมาต่าง ๆ หากพฤติกรรเป็นสิ่งไม่ดี ไม่เหมาะสมเราก็สามารถปรับปรุงพัฒนาตนเองได้ เพื่อให้เกิดความสมดุลทางสังคมในยุคโลกาภิวัฒน์ โดยหลักการแล้ว หากจะปรับปรุงเพื่อระสิทธิภาพของงาน จะต้องมีขั้นตอนสำคัญในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง 4 ขั้นตอนดังนี้

1.  ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องพัฒนาตนเอง

2.  มีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะพัฒนาตนเอง

3.  วิเคราะห์ข้อดีและข้อเสียของตนเอง

4.  เพื่อพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบระเบียบ

กลยุทธิ์ในการพัฒนาตนเอง

     เพื่อให้การพัฒนาตนเองประสบผลสำเร็จ  จึงขอเสนอหลักการเพิ่มเติม เพื่อการพัฒนาตนเองไปถึงจุดที่ควรจะเป็น และพยายามหาวิธีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ โดยบุคคลจะต้องเรียนรู้ตัวเราให้ดีก่อน แล้วจึงนำความเข้าใจกับสิ่งที่เรารู้ จากตัวบุคคลจาสิ่งที่ตัวเราที่แท้จริงก่อน เมื่อเป็นเช่นนี้จะทำให้เราสามารถมองเห็นข้อบกพร่อง แล้วจึงยึดหลักเพื่อปฏิบัติตนเอง เพื่อให้ประสบผลสำเร็จในการประกอบอาชีพ หรือการดำเนินชีวิตดังนี้

  การเป็นผู้มีจิตใจสงบ

  การเป็นผู้มีจิตใจเบิกบาน

  ความเป็นผู้ไม่หวาดหวั่นต่อความยากลำบาก

  เป็นผู้ตรงต่อเวลา  

ความเป็นผู้มีความเชื่อมั่นในตนเอง

  ความเป็นผู้ละเอียดรอบคอบ

การเป็นคนขยันขันแข็ง

ความเป็นผู้เชื่อถือของผู้อื่น

การสร้างทีมงาน

    ความสำเร็จของงานขึ้นอยู่กับปัจจัยการทำงานเป็นทีม ภารกิจสำร็จของนักบริหารจัดการคือ การพยายามทำความเข้าใจกับส่วนประกอบของทีมงาน การกำหนดวัตถุประสงค์ของทีมงานให้ชัดจน และการทำงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายขององค์กรนักบริหารจะต้องไม่ลืมความสัมพันธ์ลักษณะระหว่างคุณลักษณะของการทำงานเป็น กับความสำเร็จงานบนพื้นฐานง่ายๆ ดังนี้

     

การสร้างทีมงาน

การสร้างทีมงาน (Team-Building)   คือ

การทำงานป็นทีม(Team- Wok) คือ

 วัตถุประสงค์ในการสร้างทีมงาน

ลักษณะงานที่ต้องการสร้างสรรค์ใหม่ ๆ จะต้องจัดระบบในเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ การติดต่อสื่อสารกระบวนการแก้ปัญหา และการทำงานเป็นลักษณะงานประจำ และการบริการที่อยู่ภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลานี้ เราจะต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์และสติปัญญา ในอันที่จะเริ่มสร้างสิ่งใหม่ ๆ รวมทั้งเตรียมรับมือกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด และยังต้องอาศัยความสามารถอย่างเต็มที่ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน ดังนั้น การตระหนักถึงความจำเป็นในการทำงานร่วมกัน การสร้างทีมงานจึงมีวัตถุประสงค์ ดังนี้   

  เพื่อสร้างความไว้วางใจในหมู่สมาชิกทีมงานเดียวกัน ด้วยการเห็นคุณค่าของคน และยอมรับในศักยภาพของแต่ละบุคคล

การทำงานเป็นทีมมีประสิทธิผลมากขึ้น เมื่อสมาชิกทีมได้เสริมสร้างทักษะความเชี่ยวชาญมากขึ้น

ประสิทธิภาพการทำงานจะเพิ่มขึ้น เมื่อการแสดงความคิดเห็นในลักษณะข้อมูลป้อนกลับขอทีมงานถือว่าเป็นสิ่งจำเป็น

คนเราจะทำงานร่วมกันได้ดีขึ้น เมื่อมีการเปิดเผยและจริงใจต่อกัน โดยเฉพาะตอนที่มีปัญหา

เพื่อใหก้ารสนับสนุนด้านพัฒนาบุคลิกภาพ รู้จักเปิดหน้าต่างการเรียนรู้ โดยรับฟังความคิดเห็นข่าวสาร

เพื่อการพัฒนาทักษะในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน  เป็นการช่วยลดการขัดแย่งระหว่างบุคคลเนื่องจากสมาชิกของทีมงานได้เรียนรู้ถงทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมกขึ้น

ส่งเสริมความริเริ่มสร้างสรรค์ในหมู่สมาชิกของทีม และเป็นการสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน

ลักษณะของทีมงานที่ดี

    ทีมงานที่ดี จะมีความสมดุลที่เหมาะสมองทักษะความสามารถ รวมทั้งความพอใจทุกคนสามารถแสดงออกด้วยความซื่อสัตย์และเปิดเผย การสนทนาเกี่ยวกับงานจะเหมือนกันทั้งภายในและภายนอก องค์กรมีการเผชิญหน้าและเปิดเผย และใช้สื่อกลางสำหรับการเรียนรู้ และเมื่อเผชิญกับสถานการที่ยากลำบาก ดังนั้น การสร้างทีมงานที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้

ประโยชน์ของการทำงานเป็นทีม

  งานดีมีคุณภาพ

  เพิ่มผลผลิตของตน

  ลดความขัดแย้งในองค์กร

   รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง

ปลูกฝังความรับผิดชอบ

  สร้างมิตรสัมพันธ์

พัฒนาความคิดสร้างสรรค์

คำสำคัญ (Tags): #บรืหาร 5
หมายเลขบันทึก: 456333เขียนเมื่อ 26 สิงหาคม 2011 20:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มีนาคม 2012 22:13 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท