ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะท้องผูก


ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะท้องผูก

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลภาวะท้องผูก

เสี่ยงต่อ/ภาวะท้องผูกเนื่องจาก

£ได้รับน้ำไม่เพียงพอ

£ รับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย

£การเคลื่อนไหวร่างกายลดลง

£ ระบบทางเดินอาหารหยุดทำงาน/ทำงานน้อยจากบาดเจ็บที่ไขสันหลัง

£สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง

£ อื่นๆ...........................................

........................................................

 

ข้อมูลสนับสนุน 

S : £ ผู้ป่วย/ญาติบอกไม่ถ่ายอุจจาระมา...................วัน

     £ผู้ป่วยบ่นแน่นท้อง/

O: £ ไม่ถ่ายอุจจาระ...................วัน 

      £ ผู้ป่วยท้องแข็งตึง

      £ Bowel sound ลดลง

วัตถุประสงค์ 

£ ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระได้ตามปกติ

 

เกณฑ์การประเมิน 

£ ขับถ่ายอุจจาระทุกวัน/2-3วัน/ครั้ง

£ ผู้ป่วยไม่บ่นแน่นท้อง/กดท้องนิ่ม

£ Bowel sound 4-6 ครั้ง / นาที

กิจกรรมการพยาบาล

£ ประเมินการถ่ายอุจจาระทุกวัน

£ ขออนุญาตผู้ป่วย/ให้เหตุผลก่อนให้การพยาบาล

£ กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ 2000 -3000 cc/day                £ แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากมาก เช่น ผัก ผลไม้ ฯลฯ                       

£ กระตุ้นให้มีการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น

£ สังเกต บันทึกลักษณะ และระยะเวลาในการขับถ่าย

£ ให้คำแนะนำ และการปฎิบัติเพื่อแก้ไขป้องกันภาวะท้องผูก

£ ฟัง Bowel sound (วันละ 1-2 ครั้งเช้า-เย็น)

£ แนะนำขจัดความเครียดเพื่อให้ร่างกายปรับสมดุล

£ รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาให้ยาระบายหรือสวนอุจจาระหากให้การพยาบาลแล้วยังไม่ดีขึ้น     

£ ประเมิน พร้อมบันทึกข้อมูลหลังให้การพยาบาลทุกเวร

£ ประเมินการเสี่ยงต่อ/ภาวะท้องผูก หลังให้การพยาบาลพร้อมบันทึกทุกเวร พบว่า ดีขึ้น/คงเดิม/       ไม่ดีขึ้น  ได้ให้การพยาบาลต่อเนื่องโดย.......................................................................................

.......................................................................................

.......................................................................................

.......................................................................................

                               

£ ประเมินการถ่ายอุจจาระทุกวัน

£ ขออนุญาตผู้ป่วย/ให้เหตุผลก่อนให้การพยาบาล

£ กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ 2000 -3000 cc/day                £ แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากมาก เช่น ผัก ผลไม้ ฯลฯ                       

£ กระตุ้นให้มีการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น

£ สังเกต บันทึกลักษณะ และระยะเวลาในการขับถ่าย

£ ให้คำแนะนำ และการปฎิบัติเพื่อแก้ไขป้องกันภาวะท้องผูก

£ ฟัง Bowel sound (วันละ 1-2 ครั้งเช้า-เย็น)

£ แนะนำขจัดความเครียดเพื่อให้ร่างกายปรับสมดุล

£ รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาให้ยาระบายหรือสวนอุจจาระหากให้การพยาบาลแล้วยังไม่ดีขึ้น     

£ ประเมิน พร้อมบันทึกข้อมูลหลังให้การพยาบาลทุกเวร

£ ประเมินการเสี่ยงต่อ/ภาวะท้องผูก หลังให้การพยาบาลพร้อมบันทึกทุกเวร พบว่า ดีขึ้น/คงเดิม/       ไม่ดีขึ้น  ได้ให้การพยาบาลต่อเนื่องโดย.......................................................................................

.......................................................................................

.......................................................................................

.......................................................................................

                              

หมายเลขบันทึก: 438325เขียนเมื่อ 6 พฤษภาคม 2011 16:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:49 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท