Pediatric cancer palliative care grand round 4 มีนาคม 54


Cancer care, palliative care grand round , Best holistic acre for children with cancer, KKU

วันนี้เรานำเคสเด็กหญิง 6 ขวบ เป็นมะเร็งสมอง ที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Anaplastic ependymoma เคสนี้ก้อนโตเร็วมากผ่า 2 รอบ ตอนนี้เด็กใส่เครื่องช่วยหาย ใจ ไม่รู้สุกตัว ทีมพูดคุญกับครอบครัว วางแผนร่วมกันและนำเข้า conference

Anaplastic ependymoma is a type of malignant ependymomas tumor commonly found in young patients. These tumors grow rapidly.  Although rare, appear in children and adults that are younger than 25 years old. Tumors like this can appear in older adults, but are much more rare..more info in link is http://www.wisegeek.com/what-is-a-anaplastic-ependymoma.htm

รายละเอียด เคส การดูแล การรับรู้เรื่องโรคร้ายของครอบครัว การรักษาที่ได้รับ เปลี่ยนการรักษาเป็นแบบประคับประคอง ความต้องการและคาดหวังของครอบครัว การปรับตัวของครอบครัว อาจพอดูได้จากสไลด์ที่นำเสนอ หากท่านมีข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น สามารถแลกเปลี่ยนกับทีมเราได้ วันนี้เรามีอาจารย์แพทย์ แพทย์ประจำบ้าน พยาบาลหอผู้ป่วย พยาบาลทีมมะเร็งเด็ก และพยาบาลจากหน่วย palliative care รวมทั้งเจ้าหน้าที่โครงการ Best holistic care for children with cancer เข้าร่วมกิจกรรม

 

กระดิ่งที่เห็นในภาพ คุณพ่อคุณแม่จะนำไปถวายเจ้าพ่อมอดินแดงที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นที่เคารพของชาว มอ โดยมีความเชื่อว่า .."เผื่อปาฏิหารย์"

 

ก้อนเนื้อโตเร็วมาก นัดฉายแสง 3 มีค. 54 แต่เด็กต้องเข้าโรงพยาบาลก่อน หลังผ่ารอบแรก ต้องผ่าอีกเป็นครั้งที่ 2 (ตอนนี้อยู่ CCU)

 

ประวัติครอบครัว เป็นลูกคนแรก นิสัยร่าเริง รักสวยรักงาม ดื้อแต่มีเหตุผล มีน้องชายอายุ 5 เดือน คนดูแลหลักคือป้า เพราะพ่อแม่รับจ้างอยู่ กทม. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 7000 บาท ตอนนี้แม่ต้องกลับมาเลี้ยลูกตคนเล็ก และดูแลลูกที่ป่วย สมาชิกในครอบครัวมี 7 คน ตอนนี้ยังไม่มีปัญหาเรื่องเศรษฐกิจ

informed palliation เมื่อวันที่ 3 เมย 2554 โดยแพทย์ประจำบ้านและเกศนี

ประเมิน Perception to disease, anxiety level, hope, coping

 

ที่สุด คุณพ่อคุณแม่ไม่อยากให้ลูกทรมาน "จะไม่หายแล้วหรือ? ถ้าเขาอยากจะไปก็ให้เขาไป"

แม้ในภาวะวิกฤต ครอบครัวให้กำลังใจกัน มีสิ่งยึดเหนี่ยว มีทีม support ครอบครัวมีที่ปรึกษา การสนทนาพูดคุย ก็ยังมีรอยยิ้มให้เห็นบ้างเป็นระยะ

 

 

การดูแลแต่ละรายก็ดูตามปัจเจกของแต่ละครอบครัว

 

 

การ conference ครั้งนี้ เราได้เชิญคุณพ่อคุณแม่เข้าร่วมวางแผนการดูแลกับทีมด้วย

Kesanee APN for children with cancer, updated March 4, 2011..4:37 pm

 

หมายเลขบันทึก: 429506เขียนเมื่อ 4 มีนาคม 2011 16:38 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:38 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ทีมทำงานเข้มแข็ง ยินดีกับเด็กด้วยค่ะ

research group กลุ่มเด็ก ดัชนีชี้วัดเฉพาะโรคจะใช้อะไรเป็นตัววัด ช่วยส่งให้พี่ด้วยนะคะ

พี่ส่งตัวอย่างมาให้ดูค่ะ

  • ศึกษาผลของการเสริมพลังอำนาจในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  ทั้ง 7 กลุ่ม โดยมี
    • ดัชนี้ชี้วัดร่วมกันคือ self esteem, self efficacy, powerlessness, self care, quality of life, etc
    • ดัชนีเฉพาะกลุ่มโรคเรื้อรัง เช่น การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ลดอัตราการreadmission, ลดภาวะแทรกซ้อนของยาเคมีบำบัด, ......................

Dear P'Kaw,

I already sent you via mail. As we use the indicators for childen with cancer are as follow:-

QOl, self-care, knowledge, LOS..

Thanks ka..Kesanee

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท