เครื่องมือการเีรียนรู้ตลอดชีวิต: mind map


เครื่องมือของความคิด ที่ทำให้สามารถจำทุกอย่างได้
โดยเลียนแบบการทำงานของสมอง ในลักษณะของ
การมองภาพรวม (big picture) โดยเลียนแบบตรรกะ
ของความรู้ที่มีลักษณะการกระจายความคิดไปยังรอบข้าง
เช่นเดียวกับการทำงานของสมอง

การเขียน mind map ประกอบด้วยการเขียนแก่นแกน
ที่เป็น main idea อยู่ตรงกลาง และขยายความคิดไปยัง
กิ่งแก้ว ซึ่งประกอบด้วยสีเดียว และขยายไปยังกิ่งก้อย
ยิ่งเรามีความคิดซับซ้อนมาก กิ่งก้อยก็ยิ่งแตกออกไปมาก

มีประโยชน์ในการระดมความคิด ร่างการคิด การเขียน
การสรุปเรื่องราวจากหนังสือที่อ่าน และำทำได้เยอะจริง ๆ
โดยเฉพาะสิ่งที่ต้องการจำ เครื่องมือชนิดนี้เหมาะสมจริง ๆ
mind map เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนเรียบร้อย



หมายเลขบันทึก: 406966เขียนเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2010 17:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 มิถุนายน 2012 19:21 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (7)

สวัสดีค่ะ

นักเรียนของครูอ้อยกำลังเรียนเรื่องนี้ และพยายามให้นักเรียนคิดเป็น mapค่ะ ขอบคุณมากค่ะ

สวัสดีค่ะ

     มาทบทวนเครื่องมือเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยใช้mind mapค่ะ

                   ขอบคุณค่ะ

                          

สวัสดียามเช้าครับ ครูอ้อย และ krudala

มาเรียนรู้เรืองดี ยามเช้าค่ะท่านผอ. สุขสันต์ ณ เมืองสามหมอก คงเริ่มหนาวแล้วนะคะ รักษาสุขภาพค่ะ ;)

เป็นเครื่องมือที่ดี ถ้าใช้ให้ถูกวิธี

สวัสดียามเช้าครับคุณ poo และ ครู ป.1

สวัสดีค่ะ  ก่อนลงมือเขียนหรือพูด ครูภาทิพก็ยังใช้ แผนภาพความคิดอยู่ค่ะ  และชอบให้นักเรียนสรุปเนื้อหาในรูปแบบแผนภาพความคิดเช่นกัน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท