หมอเจ๊ คนสวย แซ่เฮ
พ.ญ. ศิริรัตน์ เอกศิลป์ สุวันทโรจน์

จากเลข ๑๓ หลัก เท่านั้นเองหรือที่มีความหมายถึง "เกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์"


เรื่องราวที่รวบรวมมานี้หวังใช้แลกเปลี่ยนและเรียนรู้ร่วมกันเพื่อทำความเข้าใจเรื่องของการให้เกียรติและการเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่ลงมือปฏิบัติและพัฒนากันอยู่ในประเด็นที่มีความเชื่อมโยงหลายระบบแตะกันอยู่ทั้งระบบนิติรัฐ การปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข และการเมือง ตัวจุดประกายให้รวบรวมเกิดจากการไปพบเห็นประเด็นในพื้นที่ศึกษาดูงานต่างๆแล้วทำให้รู้ว่ารู้เรื่องเหล่านี้น้อยมาก ทั้งๆที่ทำงานอยู่กับ "คน" เพื่อช่วยพัฒนาสังคมตลอดมา

ทำความรู้จัก "ไทยพลัดถิ่น"

หลายสัญชาติก็เป็นประเด็นเกี่ยวกับภาคใต้ด้วยหรือนี่

การผสมกลมกลืนให้คนต่างด้าวได้สัญชาติไทยกระทบอะไรคนไทยดั้งเดิมหรือเปล่า

บัตรแสดงตนของคนไร้รัฐในไทยเป็นมาอย่างไร

การได้สัญชาติไทยของบุคคลธรรมดาโดยอาจารย์แหวว

เมื่อกฏหมายสัญชาติสิ้นผลแล้วผลทางสัญชาติเปลี่ยนหรือเปล่า

รวมกฏหมายที่มีผลต่อความเป็นไทยโดยสัญชาติของบุคคลธรรมดา

ข้อคิดคนสองสัญชาติเกี่ยวกับภาคใต้

ประสบการณ์ช่วยคนของอาจารย์แหวว

ประวัติศาสตร์การจัดการคนหนีภัยความตาย

ร่างยุทธศาสตร์คนหนีภัยความตาย

ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิบุคคล

ไทยพลัดถิ่นภาคใต้ที่ระนองกับทัศนคติศาลไทย

ไทยพลัดถิ่นภาคใต้ที่ทีม สสสส.๑ ไปเห็นมา

คนไร้รัฐ-บทเรียนจากสึนามิ

เป็นคนไร้รัฐแล้วจะเจอคดีอะไรบ้างจากศาล

มีอะไรที่ทำไปแล้วบ้างเรื่องคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ

โจทย์เรื่องสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย ณ ปี พ.ศ.๒๕๕๓

เรียนรู้มุมมองของต่างประเทศต่อระบบการจัดการสิทธิมนุษยชนไทยจากกรณีพม่า-ม้ง

สสสส.๑ ทำอะไรเรื่องคนไร้รัฐไร้สัญชาติ

เพิ่งรู้จักคำว่า "คนไร้รากเหง้า" แฮะ

ทำความเข้าใจข้อมูลประชากรตามประกาศกรมการปกครอง

คุณภาพชีวิตของคนที่เกี่ยวเนื่องกับ "ใบเกิด"

ห้าคูณหกปฏิบัติการพิสูจน์สถานะบุคคลตามกฏหมายไทย

จุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐกับบุคคล

สถานะบุคคลที่เกี่ยวไปถึงความเป็นนิติบุคคลที่ส่งผลต่อการทำธุรกิจนอกประเทศ

ลาวอพยพที่ดอนโจด

ประวัติศาสตร์การให้สิทธิแก่บุคคล

คนไร้เอกสารพิสูจน์ทราบตัวบุคคลในรัฐไทย

การคุ้มครองสิทธิคนต่างด้าวในประเทศไทย

ไทยทำอะไรได้บ้างเรื่องคนไร้รัฐไร้สัญชาติ

แนวทางการประเมินความมั่นคงของมนุษย์ส่วนบุคคล

องค์กรเพื่อผู้ลี้ภัย

ผู้ลี้ภัยคือคนหนีภัยความตายเท่านั้นหรือเปล่า

สถานการณ์เด่นด้านสิทธิมนุษยชนในสายตาของตุลาการ

ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน

ปฏิญญาสากลสิทธิมนุษยชน

ปฏิญญาสากลสิทธิมนุษยชน ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๑

สิทธิมนุษยชนกับความมั่นคงแห่งชาติ

สถานการณ์เด่นด้านสิทธิมนุษยชนในมุมมองของภาคเอกชน

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง(๑)

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง(๒)

กติการระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

ปฏิญญาและกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน

สถานการณ์เด่นด้านสิทธิมนุษยชนในมุมมองภาคราชการ

ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กฏหมายและรัฐ

ความมั่นคงของมนุษย์

พ.ร.ก.ฉุกเฉินกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

กรอบแนวคิดความมั่นคงของมนุษย์

โรคขาดศักดิ์ศรีของความเป็นคน

จริยธรรมอิสลาม

ชาติ ชาตินิยม พหุนิยมและพหุวัฒนธรรมนิยม(๑)

ชาติ ชาตินิยม พหุนิยมและพหุวัฒนธรรมนิยม(๒)

ชาติ ชาตินิยม พหุนิยมและพหุวัฒนธรรมนิยม(๓)

เหตุเกิดที่สมุทรสาคร

ยุทธศาสตร์สร้างความปรองดองชาติ

จุดเด่นจุดด้อยต่อการพัฒนาประเทศมาเลเซีย

สังคมพหุวัฒนธรรม : พลังทางสังคมสู่การพัฒนาสุขภาวะของคนใต้

การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อยในสังคม

คนกลุ่มน้อยในสุวรรณภูมิ

ทิศทางการศึกษาเกี่ยวกับคนกลุ่มน้อย

ยุทธศาสตร์จัดการสถานะและสิทธิของบุคคล

 

 

 

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 395891เขียนเมื่อ 19 กันยายน 2010 21:55 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 16:26 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สวัสดีค่ะพี่หมอเจ๊

เป็นบันทึกรวบรวมเนื้อหา ในการทำงานเพื่อช่วยเหลือผู้ลี้ภัย คนพลัดถิ่น แรงงานต่างด้าว หรือชนกลุ่มน้อย ต่างๆ ... ความตระหนักในเรื่อง ความเท่าเทียมและไม่แบ่งแยก ถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ... ขอบพระคุณค่ะ

เรียนท่านหมอเจ๊คนสวย ที่นับถือ

     ต้องบอกว่า "ที่นี่ประเทศไทย" อีกแล้วครับท่าน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท