โคโระ
นางสาว แววธิดา ดาว เกตุดาว

แผนการจัดการเรียนรู้P.S.E


แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ตารางแสดงสาระการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้

เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่  จำนวนแผนการจัดการเรียนรู้   8   ชั่วโมง

แนวการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี และสังคม (STS)

เรื่อง/เนื้อหา

แผนการจัดการเรียนรู้

ขั้นการสอน

คุณลักษณะของนักเรียนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เวลา/ชม.

 

จักรยานยนต์อนาคต

3

-ขั้นระบุประเด็นทางสังคม

-ขั้นระบุศักยภาพการหาคำตอบ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง

  1. พอประมาณ
  2. มีเหตุผล
  3. มีภูมิคุ้มกัน

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข

  1. เงื่อนไขความรู้

-          รอบรู้

-          รอบคอบ

-          ระมัดระวัง

  1. เงื่อนไขคุณธรรม

-          ซื่อสัตย์

-          สุจริต

-          ขยัน

-          อดทน

-          แบ่งปัน

1

 

4

-ขั้นต้องการหาความรู้
(แรง ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว อัตราเร่ง ความเร็ว ความเร่ง)

2

 

3

 

5

-ขั้นต้องการหาความรู้
(การเคลื่อนที่)

 

2

 

6

-ขั้นทำการตัดสินใจ

-ขั้นกระบวนการทางสังคม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

วิชา ว 41205  ฟิสิกส์พื้นฐาน

แผนการสอนที่ 3

จำนวน  1  ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5

แรงและการเคลื่อนที่

 

สาระสำคัญ

                ระยะทาง  คือ  ความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมดเป็นปริมาณสเกลาร์ คือมีแต่ขนาดอย่างเดียว  มีหน่วยเป็นเมตร

                การกระจัด  คือ  เส้นตรงที่เชื่อมโยงระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายของการเคลื่อนที่วัตถุเป็นปริมาณเวกเตอร์ คือ ต้องคำนึงถึงทิศทางด้วย  มีหน่วยเป็นเมตร

                ความเร็ว  คือ การกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา  หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที

                อัตราเร็ว  คือ  ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา   หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที

                ความเร่ง  คือ  อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2

                อัตราเร่ง  คือ  อัตราการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2

 

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจความหมายของระยะทาง  การกระจัด  ความเร็ว  อัตราเร็ว  ความเร่ง  และอัตราเร่ง
  2. นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์  

 

เนื้อหา

ระยะทาง              การกระจัด 

                ความเร็ว               อัตราเร็ว 

                ความเร่ง               อัตราเร่ง 

กิจกรรมการเรียนการสอน

                ขั้นนำ (10 นาที)

  1. ครูใช้คำถาม “นักเรียนเดินทางมาโรงเรียนด้วยวิธีการใด”  (เดิน  จักรยาน  จักรยานยนต์  รถรับส่ง)
  2. ครูใช้คำถามต่อเนื่อง “บ้านของนักเรียนอยู่ห่างจากโรงเรียนเป็นระยะเท่าใด” (2 , 3 , 4 , ... ,  20 กิโลเมตร)  “นักเรียนใช้เกณฑ์ใดในการวัดระยะทาง” (หลักกิโลเมตร  เข็มไมล์ ประมาณ  ป้ายบอกทาง)

 

 

ขั้นสอน

ขั้นระบุประเด็นทางสังคม    (30 นาที)

  1. ครูสรุปจากขั้นนำ “นักเรียนหลายคนเดินทางมาโรงเรียนด้วยรถจักรยานยนต์” “ครูสมมติให้นักเรียนทุกคนขับจักรยานยนต์มาโรงเรียน”  ครูใช้คำถาม “บ้านของแต่ละคนอยู่แตกต่างกันครูสมมติให้นักเรียนทุกคนออกจากบ้านพร้อมกัน(เวลาเดียวกัน) ใครจะมาถึงโรงเรียนเป็นอันดับที่ 1 เพราะอะไร” (นายเอ-ชื่อสมมติ-เพราะอยู่บ้านใกล้โรงเรียนที่สุดครับ   นายบี เพราะถึงแม้บ้านจะอยู่ไกลแต่นายบีขับรถซิ่ง-เร็วมาก-จึงมาถึงเป็นอันดับ 1 ฯลฯ) ครูสรุปนั่นแสดงว่ามีหลายปัจจัยที่ทำให้การเดินทางโดยรถจักรยานยนต์เคลื่อนที่ได้แตกต่างกัน   ครูใช้คำถาม
    “จักรยานยนต์อนาคต” โดยให้นักเรียนตั้งคำถามให้มากที่สุด  ระหว่างนี้ครูเงียบแล้วจับเวลา 10 นาที  ครูคอยกำกับให้นักเรียนคิดให้มากที่สุด เพื่อจะได้มีความคิดคล่อง  ซึ่งเพิ่มศักยภาพของการคิดอย่างสร้างสรรค์  แล้วให้คัดคำถามที่สนใจมากที่สุด  นำเสนอหน้าชั้นเรียน (ทำไมรถจักรยานยนต์ต้องมีเบาะ   ทำไมรถจักรยานยนต์ต้องมีท่อไอเสีย   ทำไมรถจักรยานยนต์ต้องมีล้อ   ใครเป็นคนสร้างจักรยานยนต์   เอาน้ำใช้แทนน้ำมันได้หรือไม่    ทำไมต้องมีน้ำมันเครื่อง   รถจักรยานยนต์มีอายุการใช้งานได้เท่าใด   ทำไมต้องมีพ.ร.บ.  ทำไมต้องมีใบขับขี่  ขับอย่างไรจึงจะปลอดภัย เข็มบอกระยะทางบนหน้าปัดเคลื่อนที่เปลี่ยนไปได้อย่างไร ฯลฯ)
  2. ครูและนักเรียนร่วมกันจัดกลุ่มคำถาม  โดยคำถามอาจจะจัดเป็นกลุ่ม  ดังนี้

-          คำถามเกี่ยวกับความรู้เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ - คำถามเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
(ระยะทาง  อัตราเร็ว  อัตราเร่ง   น้ำมันเครื่อง การขับเคลื่อน เช่น คำถามทำไมรถจักรยานยนต์ต้องมีเบาะ ทำไมรถจักรยานยนต์ต้องมีล้อ เข็มบอกระยะทางบนหน้าปัดเคลื่อนที่ได้อย่างไร ทำไมต้องมีน้ำมันเครื่อง )

-          คำถามเกี่ยวกับเทคโนโลยี (ใครเป็นคนสร้างจักรยานยนต์ ซึ่งคำถามของเทคโนโลยีนี้สามารถตอบได้โดยให้นักเรียนประมวลความรู้วิวัฒนาการของรถยนต์ )

-          คำถามเกี่ยวกับการนำไปใช้ (เอาน้ำใช้แทนน้ำมันได้หรือไม่    ทำไมต้องมีน้ำมันเครื่อง   รถจักรยานยนต์มีอายุการใช้งานได้เท่าใด อุบัติเหตุ  กระทบสังคม กระทบสิ่งแวดล้อม เช่นคำถาม ทำไมต้องมีพ.ร.บ.  ทำไมต้องมีใบขับขี่  ขับอย่างไรจึงจะปลอดภัย  )

 

ขั้นสรุป

                ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายคำถาม  แล้วร่วมกันทั้งชั้นเรียนในการสงสัยใคร่รู้เพื่อตอบคำถามของเพื่อน  โดยประเด็นหลักต้องให้เป็นเรื่องแรงและการเคลื่อนที่)

 

สื่อการเรียนการสอน

  1. หนังสือประกอบการเรียนการสอน
  2. แบบสังเกตการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน

 

การวัดผลประเมินผล

  1. ความสนใจในการฟัง
  2. การร่วมกิจกรรม
  3. การตอบคำถาม
  4. แบบสังเกตการร่วมกิจกรรม

 

ข้อปรับปรุงหรือข้อเสนอแนะ

  1. ความคิดเห็นเกี่ยวกับนักเรียน

............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

  1. ความคิดเห็นเกี่ยวกับครูผู้สอน

............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

  1. ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

 

วันที่ใช้สอนจริง       มิถุนายน  2553

แบบสังเกตการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน

พฤติกรรม

กลุ่มที่

มีเหตุผล

5

รอบคอบ

5

มีภูมิคุ้มกัน

5

มีคุณธรรม

10

พอประมาณ

5

รวม

30

1

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 

รายชื่อนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน

สมาชิกกลุ่มที่ 1

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 2

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 3

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 4

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 5

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 6

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

 

เกณฑ์การผ่าน

                คะแนนรวมในแต่ละกลุ่ม เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 25 – 30 คะแนน           ระดับดีเยี่ยม

                คะแนนรวมในแต่ละกลุ่ม เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 19 – 24 คะแนน           ระดับดี

                คะแนนรวมในแต่ละกลุ่ม เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 13 – 18 คะแนน           ระดับพอใช้

                คะแนนรวมในแต่ละกลุ่ม เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง   0 – 12  คะแนน         ระดับปรับปรุง

แบบบันทึกอนุทิน

ให้นักเรียนบันทึกความรู้ ความคิดเห็น หรือความรู้สึกได้เกิดขึ้นในการจัดการเรียนรู้ในชั่วโมง  โดยจากบันทึกอนุทินนี้จะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใด ๆ กับคะแนน หรือผลการตัดสินคะแนนใด ๆ

......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

 

ตารางแสดงสาระการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้

เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่  จำนวนแผนการจัดการเรียนรู้   8   ชั่วโมง

แนวการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี และสังคม (STS)

 

เรื่อง/เนื้อหา

แผนการจัดการเรียนรู้

ขั้นการสอน

คุณลักษณะของนักเรียนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เวลา/ชม.

 

จักรยานยนต์อนาคต

3

-ขั้นระบุประเด็นทางสังคม

-ขั้นระบุศักยภาพการหาคำตอบ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง

1.  พอประมาณ

2.  มีเหตุผล

3.  มีภูมิคุ้มกัน

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข

1.   งื่อนไขความรู้

-          รอบรู้

-          รอบคอบ

-          ระมัดระวัง

2.   เงื่อนไขคุณธรรม

-          ซื่อสัตย์

-          สุจริต

-          ขยัน

-          อดทน

-          แบ่งปัน

1

 

4

-ขั้นต้องการหาความรู้
(แรง ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว อัตราเร่ง ความเร็ว ความเร่ง)

2

 

3

 

5

-ขั้นต้องการหาความรู้
(การเคลื่อนที่)

 

2

 

6

-ขั้นทำการตัดสินใจ

-ขั้นกระบวนการทางสังคม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

วิชา ว 41205  ฟิสิกส์พื้นฐาน

แผนการสอนที่ 4

จำนวน 2  ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5

แรงและการเคลื่อนที่

 

สาระสำคัญ

                แรง คือ อำนาจที่กระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง  ขนาด  ทิศทาง  ตำแหน่ง

                ระยะทาง  คือ  ความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมดเป็นปริมาณสเกลาร์ คือมีแต่ขนาดอย่างเดียว  มีหน่วยเป็นเมตร

                การกระจัด  คือ  เส้นตรงที่เชื่อมโยงระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายของการเคลื่อนที่วัตถุเป็นปริมาณเวกเตอร์ คือ ต้องคำนึงถึงทิศทางด้วย  มีหน่วยเป็นเมตร

                ความเร็ว  คือ การกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา  หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที

                อัตราเร็ว  คือ  ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา   หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที

                ความเร่ง  คือ  อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2

                อัตราเร่ง  คือ  อัตราการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา หน่วยเป็น เมตรต่อวินาที2

 

 

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของแรง ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร่ง และอัตราเร่ง
  2. นักเรียนบอกความต่างของระยะทางกับการกระจัด ความเร็วกับอัตราเร็ว และความเร่ง กับอัตราเร่ง

 

เนื้อหา

-          แรง

-          ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร่ง และอัตราเร่ง

 

กิจกรรมการเรียนการสอน

                ขั้นนำ (5 นาที)

  1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับประเด็นในการสืบเสาะหาความรู้เรื่อง “จักรยานยนต์” พร้อมทั้งคำถามที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการสืบเสาะหาความรู้
  2.  นักเรียนและครูร่วมกันประมวลผล  จากข้อคำถามว่าต้องใช้ความรู้ฟิสิกส์อะไรบ้างในการอธิบาย (แรงและการเคลื่อนที่)

ขั้นสอน

ขั้นต้องการหาความรู้    (60 - 115  นาที)

ชั่วโมงที่ 1

1.    ครูเสนอแผนที่โรงเรียนกับเส้นทางหมู่บ้านของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยให้แต่ละกลุ่มเลือกอยู่คนละเส้นทาง  จากนั้นครูให้แต่ละกลุ่มประมาณอัตราเร็วของรถจักรยานยนต์แล้วเสนอกับเพื่อนๆ ช่วยกันวิเคราะห์ว่ากลุ่มใดจะถึงโรงเรียนก่อน เพราะเหตุใด (กลุ่มที่อยู่ใกล้  กลุ่มที่อยู่ใกล้และใช้อัตราเร็วสูง  กลุ่มที่อยู่ไกลและใช้อัตราเร็วมากที่สุด)  ครูเพิ่มเติมความรู้  “แต่ละกลุ่มอยู่คนละหมู่บ้านตามเส้นทางของถนนห่างจากโรงเรียนนั้นนักวิทยาศาสตร์เรียกเส้นทางนี้ว่า ระยะทาง ส่วนเส้นทางที่ตัดตรงจากหมู่บ้านถึงโรงเรียนโดยไม่คำนึงถึงต้นไม้ คูน้ำ เป็นเส้นทางตรงจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย โดยจะบอกทั้งทิศทาง และขนาดด้วย นักวิทยาศาสตร์เรียกเส้นทางนี้ว่า
การกระจัด  โดยอัตราเร็วของรถจักรยานยนต์ของแต่ละกลุ่มนั้นเรียก อัตราเร็ว  และถ้ามีการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วก็จะเรียกว่า อัตราเร่ง  ซึ่งทั้งระยะทาง อัตราเร็ว อัตราเร่งเป็นปริมาณสเกลาร์ ส่วนถ้านักเรียนใช้เส้นทางการกระจัด  อัตราเร็วจะถูกเปลี่ยนเป็นความเร็ว และอัตราเร่งก็จะถูกเปลี่ยนเป็นความเร่ง ดังนั้น การกระจัด ความเร็ว และความเร่งเป็นปริมาณเวกเตอร์   ครูซักถามโดยให้นักเรียนอธิบายลงในสมุดของตนเอง “นักเรียนอธิบายความหมายของระยะทาง อัตราเร็ว อัตราเร่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง” (ระยะทางคือความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมด การกระจัด คือ เส้นตรงที่เชื่อมโยงระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายของการเคลื่อนที่ของวัตถุ  ความเร็ว คือการกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา ความเร่ง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา อัตราเร่ง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา)

ครูซักถามเพิ่มเติม“นักเรียนบอกความต่างของระยะทางกับการกระจัด ความเร็วกับ

อัตราเร็ว และความเร่ง กับอัตราเร่ง”

2.    จากคำถาม “ทำไมต้องมีเบาะ” ครูใช้คำถามระดมสมอง (เพราะจะได้ไม่เจ็บ ช่วยลดการกระแทก)  ครูใช้การสมมติให้จักรยานยนต์เป็นเก้าอี้แล้วนักเรียนแต่ละคนปฏิบัติตามโดยยกเก้าอี้ขึ้นแล้วปล่อยลงขณะที่ยังนั่งอยู่—นักเรียนรู้สึกอย่างไร  ในทำนองเดียวกันให้นักเรียนพิงพนักสมมติให้เป็นเบาะของรถยนต์โดยเอียงตัวมาข้างหน้า แล้วมีเพื่อนมาผลักเก้าอี้ขณะที่ยังนั่งอยู่—นักเรียนรู้สึกอย่างไร ครูอธิบายเพิ่มเติมโดยการวาดภาพประกอบ พร้อมสรุปความหมายของแรง (แรงคืออำนาจหนึ่งที่กระทำกับวัตถุแล้วทำให้เกิดการเปลี่ยนทิศทาง ตำแหน่ง รูปร่าง และขนาด)

ชั่วโมงที่ 2

3.    จากคำถาม “ทำไมต้องมีล้อ” ครูใช้การทดลองง่าย ๆ โดยใช้อุปกรณ์ ถุงทราย  พลาสติก กระดาษทราย  ตาชั่งสปริง  ให้นักเรียนทำการทดลองโดยออกแบบการทดลองเองจากอุปกรณ์ที่กำหนดให้โดยใช้เวลาในการทดลองและบันทึกผล  40 นาที  จากการทดลองนี้สามารถสรุปได้ว่า -- ในการเคลื่อนที่แต่ละครั้งจะใช้แรงแตกต่างกันตามลักษณะของผิวสัมผัส โดยถ้ามีผิวสัมผัสหยาบจะต้องใช้แรงในการดึงมาก นั่นเป็นเพราะมีแรงต้านการเคลื่อนที่สูง เรียกแรงต้านการเคลื่อนที่ว่า แรงเสียดทาน -- ดังนั้นวัตถุทุกประเภทเมื่อมีการเคลื่อนที่ก็จะเกิดแรงเสียดทานขึ้นเสมอ นี่ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ตอบคำถามที่ว่า ทำไมต้องมีล้อ และทำไมต้องมีน้ำมันเครื่อง

 

ขั้นสรุป

                ครูและนักเรียนร่วมสรุปความรู้เกี่ยวกับความรู้ที่ได้รับในวันนี้  (แรง ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว อัตราเร่ง ความเร่ง และแรงเสียดทาน  ฉะนั้นเมื่อนักเรียน
ลงมือสร้าง หรือทำอะไรจะต้องนำความรู้   คำนึงถึงคุณธรรม  ทำอย่างมีเหตุผล  และสามารถคงทนได้นั่นคือมีภูมิคุ้มกันกับของสิ่งนั้นได้  นี่ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) ครูเสริมให้นักเรียนนำข้อสรุปนี้บันทึกอนุทินลงในสมุดเพื่อจะได้เป็นข้อคิดในการดำรงชีวิตต่อไป

 

สื่อการเรียนการสอน

  1. หนังสือประกอบการเรียนการสอน

2.    แบบสังเกตการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน

3.   อุปกรณ์การทดลอง ได้แก่ ถุงทราย ถุงพลาสติก กระดาษทราย ตาชั่งสปริง

 

การวัดผลประเมินผล

  1. ทักษะกระบวนการทดลอง

2.    การออกแบบการทดลอง

3.    บันทึกอนุทิน

4.    แบบสังเกตการร่วมกิจกรรม

 

 

 

แบบสังเกตการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน

พฤติกรรม

กลุ่มที่

มีเหตุผล

5

รอบคอบ

5

มีภูมิคุ้มกัน

5

มีคุณธรรม

10

พอประมาณ

5

รวม

30

1

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 

รายชื่อนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน

สมาชิกกลุ่มที่ 1

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 2

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 3

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 4

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 5

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

สมาชิกกลุ่มที่ 6

1.................................

2.................................

3..................................

4.................................

5.................................

6.................................

 

เกณฑ์การผ่าน

                คะแนนรวมในแต่ละกลุ่ม เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 25 – 30 คะแนน           ระดับดีเยี่ยม

                คะแนนรวมในแต่ละกลุ่ม เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 19 – 24 คะแนน           ระดับดี

                คะแนนรวมในแต่ละกลุ่ม เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 13 – 18 คะแนน           ระดับพอใช้

                คะแนนรวมในแต่ละกลุ่ม เฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง   0 – 12  คะแนน         ระดับปรับปรุง

สำหรับผู้ตรวจเท่านั้น

สมมติฐาน    ..................คะแนน

ทักษะกระบวนการ.........คะแนน

การร่วมมือกัน  ..............คะแนน

การสรุป            ..............คะแนน

 รวม…..............คะแนน

อยู่ในเกณฑ์ ...............................

 

การออกแบบการทดลองเรื่อง....................................................................

ชื่อสมาชิกในกลุ่ม

  1. ..........................................................................................
  2. .........................................................................................
  3. .........................................................................................
  4. .........................................................................................
  5. .........................................................................................

 

สมมติฐาน...................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

 

ตัวแปรต้น ...........................................................................................................................

ตัวแปรตาม ...........................................................................................................................

 

วิธีการทดลอง

...................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

 

ตารางบันทึกผลการทดลอง

 

 

 

 

สรุปผลการทดลอง

...................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................

เกณฑ์การให้คะแนน

 

สมมติฐาน   

                2 คะแนน              ออกแบบได้รอบคอบ  ครอบคลุมเนื้อหา

                1 คะแนน              ออกแบบได้รอบคอบ แต่ไม่ครอบคลุมเนื้อหา

                0 คะแนน              ออกแบบไม่ได้

ทักษะกระบวนการ

                4 คะแนน              สามารถทำได้รอบคอบ  ถูกต้อง คล่องแคล่ว

                3 คะแนน              สามารถทำได้รอบคอบ  ถูกต้อง แต่ไม่คล่องแคล่ว

                2 คะแนน              สามารถทำได้ถูกต้อง แต่ไม่รอบคอบ  และคล่องแคล่ว

การร่วมมือกัน 

                2 คะแนน              สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกันดี มีการแลกเปลี่ยนความคิด

                1 คะแนน              สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกันดี ไม่มีการแลกเปลี่ยนความคิด

                0 คะแนน              ไม่มีความร่วมมือกัน

การสรุป           

                2 คะแนน              สรุปได้ดี สอดคล้องกับผลการทดลอง และสามารถนำเป็นแบบอย่างได้

                1 คะแนน              สรุปได้ดี สอดคล้องกับผลการทดลอง แต่ไม่สามารถนำเป็นแบบอย่างได้

                0 คะแนน        &n

หมายเลขบันทึก: 358024เขียนเมื่อ 12 พฤษภาคม 2010 16:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 14:10 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สนใจการจัดทำแผน P.S.E. ค่ะ ขอความกรุณาช่วยส่งแผนทั้ง 4 แผน เป็นให้เป็นตัวอย่างด้วยนะค่ะ

ที่ e-mail : [email protected]

ดีจัง ทำได้ดี แบ่งปันคนนี้ด้วยน่ะ จำกันได้บ่ ว่าเป็นใคร

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท