นวตกรรม..ทำยังไงหนอ??


ดัชนีชี้วัดอย่างหนึ่งของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงคือการสร้างนวตกรรมทางการพยาบาลค่ะ ส่วนตัวผู้เขียนเองก็เคยเรียนรู้เกี่ยวกับนวตกรรมมาบ้าง และเคยพัฒนานวตกรรมดนตรีอีสานบำบัดความปวดในผู้ป่วยมะเร็ง ค่ะ แต่ครั้งนั้นเป็นการศึกษาค่ะ ครั้งนี้จะต้องสร้างเอง ปัญหาจะต้องเกิดจากงานประจำของเรา สร้างขึ้นมาแล้วต้องมีคนใช้ และใช้ได้อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน นั่นหมายถึง ต้องมีประโยชน์จริงๆ ..และสะดวกต่อการปฏิบัติงาน..คิดอยู่นานๆๆค่ะ ..จะทำยังไงหนอ???

ผู้เขียนจำได้ว่าโจทย์ข้อหนึ่งจากกรรมการเยี่ยมสำรวจคุณภาพโรงพยาบาลก็คือ 

การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนังแบบ Multiple dose (ยาที่ต้องฉีดวันละหลายๆครั้ง) มีวิธีการฉีดไม่ให้ซ้ำที่เดิมได้อย่างไร?? ซึ่งในผู้ป่วยเบาหวานก็คือ การฉีดยาอินซูลินค่ะ โดยเฉพาะในผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องฉีดยาเป็นเวลานาน การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนังซ้ำที่เดิมๆบ่อยๆจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน คือ บวม แดง หรือเกิดก้อนไขมันเปลี่ยนแปลง(lipodystrophy,lipohypertrophy) ค่ะ ที่สำคัญทำให้การดูดซึมยาลดลง ทำให้การควบคุมเบาหวานไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงต้องหลีกเลี่ยงการฉีดยาซ้ำที่เดิมค่ะ

จะทำยังไงหละคะ..ที่ผ่านมาคือ ต่างคนต่างฉีด  บางคนฉีดที่ต้นแขน บางคนฉีดที่หน้าท้อง ถ้าจะถามผู้ป่วย พอฉีดบ่อยๆเข้าก็จำไม่ได้ค่ะ ไม่มีหลักฐาน ..เชิงประจักษ์..

ผู้เขียนจึงคิดจะหาวิธีแก้ปัญหานี้ค่ะ..ใครจะร่วมมือกับเรา??? จะใช้พื้นที่ใด เป็นหน่วยดำเนินการ?? แน่นอนว่าหน่วยงานนั้นต้องมีผู้ป่วยเบาหวานมากพอควร ค่ะ

และไม่นานผู้เขียนก็ได้พื้นที่สำหรับพัฒนานวตกรรมค่ะ ทั้งนี้เป็นความต้องการของหน่วยงานเอง เพราะ เจอโจทย์ของ สรพ.ค่ะ

อันดับแรกผู้เขียนสืบค้น ศึกษา ค้นคว้า เกี่ยวกับ การฉีดอินซูลิน ค่ะ

ใช้คำสำคัญ ว่า อินซูลิน Injection site ทั้ง ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ ค่ะ

เมื่อได้แนวคิดมา ก็ลองออกแบบนวตกรรม ..ปรับ/แก้ ..ปรับ/แก้..ตอนนั้น รู้สึกตื่นเต้นแกมอายๆ..กลัวว่าจะไม่ดีพอ กลัวผู้ปฏิบัติงานไม่ยอมใช้..

วันหนึ่งจึงได้เล่าให้พี่แก้ว(อุบล จ๋วงพานิช)ฟัง พี่แก้วบอกว่า"เธอก็ไม่ต้องคิดมาก ได้แค่ใหน ก็เอาแค่นั้นก่อน ให้คนที่เขาเก่งกว่ามาคิดต่อ"..เออ ใช่ๆๆๆ..ค่ะ

คิดได้ดังนั้น วันรุ่งขึ้นผู้เขียนและหัวหน้าหอผู้ป่วยก็เชิญประชุมชี้แจงโครงการทันทีค่ะ..

     

รายละเอียดกระบวนการมีมากพอสมควร ระหว่างการพัฒนานวตกรรมนี้ผู้เขียนได้รับความร่วมมือจากน้องๆพยาบาลเป็นอย่างดีถึงดีมากค่ะ มีการให้ข้อมูลสะท้อนกลับ และช่วยปรับแบบฟร์อม..ทดลองใช้ในงานประจำอีกสัก 1 เดือน น่าจะประเมินผลได้ค่ะ..

ท้ายสุด งานนี้ทำให้ผู้เขียนได้บทเรียน ว่า "อย่าอายที่จะคิด และอย่ากลัวที่จะเปลี่ยนแปลง" ค่ะ

หน้าตาแบบบันทึก(medication record)และตัวอย่างการบันทึกการฉีดยาอินซูลิน(multiple dose) ค่ะ 

Patient name……(sticker)..…….Dx: ………………................................HN………….. Age………Sex…………Ward…………เตียง………......

Department of……………Staff................................Resident …………..

 

MEDICATION RECORD CODE R=Refuse, O=OFF, S=Stop, SL=Sleep, V=Vomiting, A=Allergy

/ด/ป

             ชื่อยา ขนาด วิธีใช้ 

                (One day)

ตำแหน่งที่ฉีด 

   วันที่

10/01/53

11/01/53

12/01/53

   เวลา

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ให้

ผู้ให้

ผู้ให้

10/01/53

RI 10 unit sc

01 นาฬิกา

11.30 น.

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

 

RI 12 unit sc

02 .นาฬิกา

17.30 น.

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

 

NPH 8 unit sc

03 นาฬิกา

21.30 น.

อุบล       ปราณี

 

 

11/01/53

RI 10 unit sc

04 นาฬิกา

07.30 น.

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

RI 4 unit sc

05 นาฬิกา

11.30 น.

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

RI 6 unit sc

06 นาฬิกา

17.30 น.

 

อุบล       ปราณี

 

 

NPH 8 unit sc

03 นาฬิกา

21.30 น.

 

อุบล       ปราณี

 

12/01/53

RI 8 unit sc

01 นาฬิกา

11.30 น.

 

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

RI 6 unit sc

02 .นาฬิกา

17.30 น.

 

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

NPH 6 unit sc

03 นาฬิกา

21.30 น.

 

 

อุบล       ปราณี

 

 

11 นาฬิกา

 

 

 

อุบล       ปราณี

 

 

12 นาฬิกา

 

 

 

 

/ด/ป

        ชื่อยา ขนาด วิธีใช้

           (Continuous)

 

ตำแหน่งที่ฉีด

   วันที่

13/01/53

14/01/53

15/01/53

    เวลา

    ผู้ตรวจสอบ

  ผู้ตรวจสอบ

   ผู้ตรวจสอบ

        ผู้ให้

     ผู้ให้

      ผู้ให้

13/01/53

Mixtard  10 unit  sc. เช้า

01 นาฬิกา

7.30 น.

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

 

Mixtard  10 unit  sc.เย็น

02 .นาฬิกา

17.30 น.

อุบล       ปราณี

 

 

 

 

03 นาฬิกา

 

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

 

04 นาฬิกา

 

 

อุบล       ปราณี

 

 

 

05 นาฬิกา

 

 

 

อุบล       ปราณี

 

 

06 นาฬิกา

 

 

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

07 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

08 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

09 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

10 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

11 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

12 นาฬิกา

 

 

 

 

                                                                                                                 Inspection

Day (เช้า)

 

 

 

 

 

 

Evening (บ่าย)

 

 

 

 

 

 

Night(ดึก)

 

 

 

 

 

 

                   


หมายเลขบันทึก: 329893เขียนเมื่อ 21 มกราคม 2010 20:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (12)

คนถามก็เข้าใจถามให้เกิดการคิด

คนถูกถามก็นำมาต่อยอดความคิด.. ดีจังเลยค่ะ

จริงๆคนไข้กลุ่มอื่นก็มีฉีดยาซ้ำๆเหมือนกันนะคะ

จะมิดตามตอนต่อไปนะคะ

สวัสดีครับคุณลดา ตามมาดูนวรรตกรรมการฉีด อินซูลิน ครับ

"ทำงานให้มีความสุขครับ"

จะตามมาดูตอนต่อไปครับ

ยินดีด้วยกับสิ่งที่พยายามพัฒนา ขอให้นวัตกรรมที่นำมาใช้ถูกใจคนไข้และผู้ปฏิบัติงาน

Patient name……(sticker)..…….Dx: ……………                                 HN………….. Age………Sex…………Ward…………เตียง………...... Department of……………Staff.....................Resident …………..

MEDICATION RECORD CODE R=Refuse, O=OFF, S=Stop, SL=Sleep, V=Vomiting, A=Allergy

/ด/ป

           ชื่อยา ขนาด วิธีใช้ 

                     (One day)

ตำแหน่งที่ฉีด

วันที่

10/01/53

11/01/53

12/01/53

เวลา

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ให้

ผู้ให้

ผู้ให้

10/01/53

RI 10 unit sc

01 นาฬิกา

11.30 น.

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

 

RI 12 unit sc

02 .นาฬิกา

17.30 น.

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

 

NPH 8 unit sc

03 นาฬิกา

21.30 น.

อุบล       ปราณี

 

 

11/01/53

RI 10 unit sc

04 นาฬิกา

07.30 น.

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

RI 4 unit sc

05 นาฬิกา

11.30 น.

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

RI 6 unit sc

06 นาฬิกา

17.30 น.

 

อุบล       ปราณี

 

 

NPH 8 unit sc

03 นาฬิกา

21.30 น.

 

อุบล       ปราณี

 

12/01/53

RI 8 unit sc

01 นาฬิกา

11.30 น.

 

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

RI 6 unit sc

02 .นาฬิกา

17.30 น.

 

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

NPH 6 unit sc

03 นาฬิกา

21.30 น.

 

 

อุบล       ปราณี

 

 

11 นาฬิกา

 

 

 

อุบล       ปราณี

 

 

12 นาฬิกา

 

 

 

 

/ด/ป

ชื่อยา ขนาด วิธีใช้

(Continuous)

 ตำแหน่งที่ฉีด

วันที่

13/01/53

14/01/53

15/01/53

เวลา

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ตรวจสอบ

ผู้ให้

ผู้ให้

ผู้ให้

13/01/53

Mixtard  10 unit  sc. เช้า

01 นาฬิกา

7.30 น.

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

 

Mixtard  10 unit  sc.เย็น

02 .นาฬิกา

17.30 น.

อุบล       ปราณี

 

 

 

 

03 นาฬิกา

 

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

 

04 นาฬิกา

 

 

อุบล       ปราณี

 

 

 

05 นาฬิกา

 

 

 

อุบล       ปราณี

 

 

06 นาฬิกา

 

 

 

ลดาวัลย์    จงกล

 

 

07 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

08 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

09 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

10 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

11 นาฬิกา

 

 

 

 

 

 

12 นาฬิกา

 

 

 

 

                                                                                               Inspection

Day (เช้า)

 

 

 

 

 

 

Evening (บ่าย)

 

 

 

 

 

 

Night(ดึก)

 

 

 

 

 

 

                   

หน้าตาของแบบบันทึกการฉีดอินซูลิน ประมาณนี้ค่ะ

แบบบันทึกนี้ขนาดเท่ากับ หนึ่งหน้ากระดาษ A4 ค่ะ

อืมน่าสนใจมากนะค่ะ...ขอให้มีความสุขทั้งผู้ให้และผู้รับนะค่ะ

P ท่าน วอญ่า

มีเรื่องดีๆเอามาเล่าสู่กันฟัง ค่ะ

อนาคด..ลูก หลาน เขา อาจเรียก ภูมิปัญญา ชาวบ้าน ค่ะ

เอิ๊กกๆ

ขอบคุณค่ะ

P พี่เกศ

เพิ่งเริ่มต้นค่ะ..

P น้ำแข็งใส

ลองต่อยอด ดูนะคะ

อาจได้ สิ่งที่ดีกว่า ค่ะ

ขอบคุณค่ะ

P พี่อ้อย ที่รัก

คิดและทำในงานของเรา ค่ะ

ขอบคุณค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท