Archanwell
รศ.ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

สารบาญรายงานผลการศึกษาสถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองของคนชายขอบเพื่อเสนอต่อคณะกรรมส่งเสริมการอนุวัติตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองโดย รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๒


บทนำ

๑.         รายงานฉบับนี้เป็นผลของการสำรวจสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของคนชายขอบในประเทศไทย เพื่อเสนอสหประชาชาติ

๒.         แม้รายงานนี้จะเป็น  State Report แต่ผู้ทำรายงานก็มีมุมมองแบบรอบด้าน เป็นกลาง ตรงไปตรงมา

๓.          สิทธิตาม ICCPR คืออะไร ?

๔.         ทำไมจึงต้องทำร่างรายงานประเทศตามพันธกรณี ภายใต้ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) ฉบับ ที่ ๒ ?

๕.         ข้อห่วงใยของ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (HRC) ต่อคนชายขอบ

๖.          คนชายขอบในประเทศไทยภายใต้ ICCPR คือใคร ?

๗.       การจำแนกประเภทของคนชายขอบที่เกี่ยวข้องกับ ICCPR ตามความเป็นไปได้ในการจัดการปัญหา

๘.         แนวคิดด้านวิธีวิทยาและการทำรายงานการสำรวจสถานการณ์ด้านสิทธิของคนชายขอบภายใต้ ICCPR

๙.        การตรวจสอบสถานการณ์ด้านสิทธิของคนชายขอบในประเทศไทยตาม ICCPR ระหว่าง พ.ศ.๒๕๔๘ – พ.ศ.๒๕๕๑

บทที่ ๑   การตอบประเด็นคำถามและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ HRC เกี่ยวกับสิทธิตาม ICCPR ของคนชายขอบในประเทศไทย

๑.        ความเห็นต่อประเด็นคำถามของ HRC

๒.        ความเห็นต่อ Concluding Observations ของ HRC

บทที่ ๒   สิทธิตาม ICCPR และการแก้ไขปัญหาความเป็นคนชายขอบของมนุษย์ในประเทศไทย

๑.        สิทธิของคนชายขอบในการรับรองสถานะบุคคลตามกฎหมายภายใต้ข้อ ๑๖ และ ข้อ ๒๔ (๒) แห่ง ICCPR

๒.       สิทธิของคนชายขอบในการคุ้มครองเด็กตามกฎหมายภายใต้ข้อ ๒๔ (๓) แห่ง ICCPR

บทที่ ๓   สิทธิตาม ICCPR และการแก้ไขปัญหาของคนชายขอบที่เป็นผลมาจากความเป็นคนชายขอบของมนุษย์ในประเทศไทย

๑.        สิทธิของคนชายขอบในการคุ้มครองครอบครัวภายใต้ข้อ ๒๓ แห่ง ICCPR

๒.       สิทธิของคนชายขอบที่จะไม่ถูกลงโทษทางอาญาในการกระทำที่ตนมิได้กระทำภายใต้ข้อ ๑๕ แห่ง ICCPR

๓.        สิทธิของคนชายขอบที่จะไม่ถูกเลือกปฏิบัติภายใต้ข้อ ๒ และ ๒๖ แห่ง ICCPR

๓.        สิทธิของคนชายขอบที่จะเคลื่อนย้ายและเลือกถิ่นที่อยู่ภายใต้ข้อ ๑๒ และ ๑๓ แห่ง ICCPR

๔.       สิทธิของคนชายขอบในการเข้าร่วมทางการเมืองภายใต้ข้อ ๒๕ แห่ง ICCPR

บทที่ ๔   สิทธิตาม ICCPR และการแก้ไขปัญหาของคนชายขอบที่มิได้เป็นผลมาจากความเป็นคนชายขอบของมนุษย์ในประเทศไทย

๑.     สิทธิของคนชายขอบโดยธรรมชาติในการดำรงชีวิตภายใต้ข้อ ๖ แห่ง ICCPR

๒.     สิทธิของคนชายขอบที่จะไม่เป็นทาสหรือถูกค้าภายใต้ข้อ ๘ แห่ง ICCPR

๓.     สิทธิของคนชายขอบในความเสมอภาคในการพิจารณาของศาลและตุลาการภายใต้ข้อ ๑๔ แห่ง ICCPR

๔.    สิทธิของคนชายขอบที่จะไม่ถูกลบหลู่เกียรติยศและชื่อเสียงเกียรติคุณภายใต้ข้อ ๑๗ แห่ง ICCPR

๕.       สิทธิของคนชายขอบในการชุมนุมและเข้าร่วมสหภาพแรงงานภายใต้ข้อ ๒๑ และ ๒๒ แห่ง ICCPR

๖.        สิทธิของคนชายขอบในวัฒนธรรมภายใต้ข้อ ๒๗ แห่ง ICCPR

บทสรุป : ความคืบหน้าของสิทธิของคนชายขอบตาม ICCPR และแนวโน้มในอนาคต

๑.            สถานการณ์ “เด่น” ด้านสิทธิของคนชายขอบตาม ICCPR : “๑๔ สถานการณ์เด่น”

๒.            สถานการณ์ “ด้อย” ด้านสิทธิของคนชายขอบตาม ICCPR :“๑๑ สถานการณ์ด้อย”

คำสำคัญ (Tags): #iccpr country report 2548-2552
หมายเลขบันทึก: 323452เขียนเมื่อ 27 ธันวาคม 2009 15:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มิถุนายน 2012 18:48 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท