การพัฒนาโรงเรียนสู่ต้นแบบในฝัน ด้วยกระบวนการ S.B.M


การพัฒนาโรงเรียนสู่ต้นแบบโรงเรียนในฝัน

School   Based  Management   (S.B.M.)

ในการพัฒนาโรงเรียนสู่การเป็นต้นแบบโรงเรียนในฝัน   โรงเรียนดีที่ใกล้บ้าน

แนวคิด

 

                        

วิธีปฏิบัติเพื่อให้เกิดคุณภาพทั้งระบบ

  1. ระดมผู้เชี่ยวชาญ/ผู้มีประสบการณ์
  2. ระดมทรัพยากร (การเงิน/วิชาการ)
  3. ปรับสภาพการทำงานให้มีความยืดหยุ่น

        -  ริเริ่มโครงการใหม่

        -  สำรวจความต้องการของผู้เรียน

  4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย  (ครู/นักเรียน/ผู้ปกครองและชุมชน)

 

บทบาทของผู้บริหารโรงเรียน

  1. ผู้นำ
  2. ผู้สนับสนุน
  3. ผู้อำนวยความสะดวก
  4. ผู้มีวิสัยทัศน์ (พันธกิจ/ค่านิยม/เป้าหมายของโรงเรียน)
  5. ผู้รู้/เชี่ยวชาญในนวัตกรรมใหม่(วิชาการ/ICT)
  6. ผู้ปฏิบัติ (นำนโยบายไปปฏิบัติให้เกิดผลกับผู้เรียน)

ภารกิจของผู้บริหารโรงเรียนในการปรับปรุง/พัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพเป็นโรงเรียนต้นแบบในฝัน  โรงเรียนดีที่ใกล้บ้าน

  1. แหล่งเรียนรู้

         - E-Classroom/ICT

         - มาตรฐาน/คุณภาพห้องปฏิบัติการ

         - Modern  School

  2. กระบวนการเรียนรู้

         - การคิด/วิเคราะห์

         - E-Learning

         - Internet/Website/E-Mail

         - Child  Center

         - E-Library

         - Project  Based  Learning

         - ภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ/จีน)

  3. แหล่งเรียนรู้

         - Clean       - สะอาด

         - Green      - ร่มรื่น

         - Beautiful   - สวยงาม

        -  Safety      - ปลอดภัย

        - Facility     - สะดวก/เป็นระเบียบ

        - Friendly   - อบอุ่น/สัมพันธภาพที่ดี

 4. การบริหารจัดการ

        -  E-Office

        - Modern  School

 ภาคีเครือข่ายสนับสนุนโรงเรียน

            การที่โรงเรียนจะมีการพัฒนาและประสบผลสำเร็จในการบริหารจัดการมากน้อย สิ่งที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดผลดังกล่าว  มักได้แก่  ภาคีเครือข่ายที่ให้การสนับสนุนโรงเรียน ได้แก่

    -  องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่  องค์การบริหารส่วนจังหวัด, เทศบาล,องค์การบริหารส่วนตำบล

    -  สมาคมผู้ปกครองและครู ฯลฯ

    -  สมาคมศิษย์เก่า ฯลฯ

    -  เครือข่ายผู้ปกครอง

    -  ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจต่างๆ

    -  พ่อค้า, คหบดี และประชาชนทั่วไป

และส่วนที่สำคัญที่สุด  ได้แก่ บุคลากรที่อยู่ภายในโรงเรียนทั้งครูและนักเรียน  หาก

ผู้บริหารมีเทคนิควิธีการที่ทำให้ครูและนักเรียนใช้ความสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้ และร่วมไม้ร่วมมือกันในการผลักดันแนวคิดและยุทธศาสตร์ โรงเรียนในฝันให้บรรลุผลสู่การเป็นต้นแบบแล้ว ความสำเร็จไม่ไกลเกินเอื้อม

            นั่นคือ  กระบวนการ  S.B.M.  ที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาโรงเรียนสู่การเป็นต้นแบบโรงเรียนในฝัน

คำสำคัญ (Tags): #s.b.m.#school based management
หมายเลขบันทึก: 300134เขียนเมื่อ 23 กันยายน 2009 13:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 21:36 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท