การเริ่มต้น งานมานุษยวิทยา


รักการเรียนรู้

   ในการ เป็นนักมานุษยวิทยาที่ดี  นั้น ต้องมี 2 อย่างประกอบกัน คือ แนวคิด ทษฏีพื้นฐาน โดย

เฉพาะพื้นฐานงานชาติพันธุ์วรรณา   และแนวคิดสำคัญ ของนักคิดด้านมานุษยวิทยา  สังคมวิทยา  เพื่อให้

เข้าใจพื้นฐาน

ก่อน  นอกจากนี้ อาจต้องลองไปลงชุมชน  จดบันทึก  สัมภาษณ์ชาวบ้าน  เขียนแผนที่   ถ่ายภาพ  หัดทำ

ความเข้าใจ  และตีความข้อมูลก่อน  เมื่อมีความรู้ด้่านแนวคิดทฤษฏี มากพอ  ให้ไปหา่อ่านงานวิจัยดีๆ  และ

ไม่ดี  บทความวิชาการต่า่งๆไ  ที่เกี่ยวข้อง หัดคิดด้วยแนวทางใหม่

หัดตั้งคำถามกับสิ่ง ต่างๆ  มองทุกอย่างที่เชื่อมโยงกัน อย่างซับซ้อน  มองให้เข้าใจถึงความขััดแย้ง มุม

มองคนใน

การให้ความหมาย หรือวาทกรรมต่างๆ  ของคน  ซึ่งอาจกินเวลานานในการเรียนรู้อย่างน้อย 2-3 ปี นอกจากนี้

ให้ลงมือทำวิจัย  โดยการกำหนดโจทย์วิจัีย  ในเรื่องที่เราสนใจอยากรู้  ศึกษาเพิ่มเติมให้มาก

 

เขียนเค้า่โครงการวิจัย  ปรับ จนลงตัว  แล้วจึง ไปเริ่มเก็บข้อมูล ตามคำถามวิจัยที่เราอยากรู้

 

ไม่มอง ทุกอย่างแบบมีคู่ืตรง ข้าม หรือมีนิยามที่ตายตัว

หมายเลขบันทึก: 277769เขียนเมื่อ 18 กรกฎาคม 2009 14:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 พฤษภาคม 2012 16:57 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

การเริ่มต้น นั้นสำคัญ ผม โชคดี ที่ได้ พบ ดร.โกมาตย์ กับ อ.สุริยาครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท